มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 4004-2560 THAI AGRICULTURAL STANDARD TAS 4004-2017 ข้าวไทย THAI RICE ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ICS 67.060 ISBN 978-974-403-674-2 มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 4004-2560 THAI AGRICULTURAL STANDARD TAS 4004-2017 ข้าวไทย THAI RICE ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2561 2277 โทรสาร 0 2561 3357 www.acfs.go.th ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 134 ตอนพิเศษ 221 ง วันที่ 8 กันยายน พุทธศักราช 2560 (2) คณะกรรมการวิชาการพิจารณามาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้องกับสินค้าข้าว 1. อธิบดีกรมการข้าว หรือผู้ที่อธิบดีมอบหมาย ประธานกรรมการ นายอลงกรณ์ กรณ์ทอง รองอธิบดีกรมการข้าว นายกฤษณพงศ์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล รองอธิบดีกรมการข้าว 2. ผู้แทนกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ผู้อ านวยการกองมาตรฐานสินค้าน าเข้าส่งออก นายเอกรินทร์ อินกองงาม กรรมการ 3. ผู้แทนกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ นางสาวพัชรี พยัควงษ์ นางสาวจันทร ควรสมบูรณ์ กรรมการ 4. ผู้แทนกรมส่งเสริมการเกษตร นายส าราญ สาราบรรณ์ นายวิเศษศักดิ์ ศรีสุริยะธาดา นายวิโรจน์ จันทร์ขาว กรรมการ 5. ผู้แทนกรมส่งเสริมสหกรณ์ นางสาวปรานอม จันทร์ใหม่ นางเนาวรัตน์ เอื้ออารักษ์พงศ์ กรรมการ 6. ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข นางมาลี จิรวงศ์ศรี นางสาวจิรารัตน์ เทศะศิลป์ กรรมการ 7. ผู้แทนกองตรวจสอบรับรองมาตรฐานข้าวและผลิตภัณฑ์ กรมการข้าว นายประสงค์ ทองพันธ์ กรรมการ 8. ผู้แทนสภาเกษตรกรแห่งชาติ นางลัดดาวัลย์ กรรณนุช กรรมการ 9. ผู้แทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย นายวิชัย อัศรัสกร กรรมการ 10. ผู้แทนสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย นายวิชัย ศรีประเสริฐ นางมยุรา มานะธัญญา กรรมการ 11. ผู้แทนสมาคมโรงสีข้าวไทย นายมานัส กิจประเสริฐ กรรมการ (3) 12. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิเคราะห์และตรวจสอบคุณภาพข้าว นางสาวกัญญา เชื้อพันธุ์ กรรมการ 13. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตข้าวบรรจุถุง นายวิชัย ศรีนวกุล กรรมการ 14. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตข้าวเปลือก นายสามารถ อัดทอง กรรมการ 15. ผู้แทนส านักก าหนดมาตรฐาน ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ นางสาวณมาพร อัตถวิโรจน์ นางสาวมนทิชา สรรพอาสา นางสาววิรัชนี โลหะชุมพล กรรมการและเลขานุการ (4) ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ประกาศมาตรฐานสินค้าเกษตร ที่ มกษ. 4004-2555 เรื่อง ข้าว เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2555 เพื่อเป็นการปรับปรุงให้มาตรฐานมีเนื้อหาสอดคล้องกับสถานการณ์การผลิต และการค้าที่เปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร จึงเห็นสมควรให้ปรับปรุงแก้ไข มาตรฐานฉบับเดิม เพื่อให้ข้าวที่ผลิตในประเทศไทยเป็นที่ยอมรับมากขึ้น ทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศในด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ก าหนดขึ้นโดยใช้เอกสารต่อไปนี้เป็นแนวทาง กระทรวงพาณิชย์. 2559. ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง มาตรฐานสินค้าข้าวหอมไทย พ.ศ. 2559. กระทรวงพาณิชย์. 2559. ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง มาตรฐานสินค้าข้าว พ.ศ. 2559. ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2546. ข้าวหอมมะลิไทย. มกษ. 4000-2546. ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2551. ข้าวหอมไทย. มกษ. 4001-2551. ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2555. ข ้าว. มกษ. 4004-2555. International Organization for Standardization. 2009. Cereals and cereal product-Sampling, Section 5.2 Sampling of bulk products and Section 5.3 Sampling of milled and other products in packed units. ISO 24333:2009. Joint FAO/WHO Food Standards Programme. 1995. Rice. CODEX STAN 198-1995. มกษ. 4004-2560 มาตรฐานสินค้าเกษตร ข้าวไทย 1. ขอบข่าย 1.1 มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ใช้กับข้าวไทย ซึ่งได้มาจากพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oryza sativa L. วงศ์ Gramineae หรือ Poaceae พันธุ์ที่ผลิตเป็นการค้า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรือ หน่วยงานอื่นที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศรับรองพันธุ์ และเป็น ข้าวที่ผลิตในประเทศไทยส าหรับการบริโภค มาตรฐานนี้รวมข้าวเจ้าและข้าวเหนียวที่อยู่ใน รูปของข้าวเปลือก ข้าวกล้อง และข้าวขาวที่บรรจุหีบห่อ ยกเว้นข้าวเปลือกอาจไม่บรรจุหีบห่อก็ได้ 1.2 มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ไม่ครอบคลุมสินค้า ดังต่อไปนี้ ก) ข้าวหอมมะลิไทย ที่ได้ก าหนดเป็นมาตรฐานไว้ตาม มกษ. 4000 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ข้าวหอมมะลิไทย ข) ข้าวหอมไทย ที่ได้ก าหนดเป็นมาตรฐานไว้ตาม มกษ. 4001 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ข้าวหอมไทย ค) ข้าวที่เติมสารอาหาร เช่น วิตามิน เกลือแร่ ง) ข้าวนึ่ง (parboiled rice) จ) ข้าวสีต่างๆ (colour rice) 2. นิยาม ความหมายของค าที่ใช้ในมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ มีดังต่อไปนี้ 2.1 ข้าวเจ้า (non glutinous rice or non waxy rice) หมายถึง ข้าวซึ่งเป็นพันธุ์ที่เมล็ดข้าวขาว มีลักษณะใส อาจมีหรือไม่มีจุดขุ่นขาวของท้องไข่ปรากฏอยู่ 2.2 ข้าวเหนียว (glutinous rice) หมายถึง ข้าวซึ่งเป็นพันธุ์ที่เมล็ดข้าวเหนียวขาวมีลักษณะขุ่นขาว ทั้งเมล็ด เมื่อนึ่งสุกเมล็ดจะเหนียวและจับติดกัน 2.3 ข้าวเปลือก (paddy or rough rice or unhusked rice) หมายถึง ข้าวที่ยังไม่ผ่านการกะเทาะเอา เปลือกออก 2.4 ข้าวเปลือกสด (wet paddy or wet unhusked rice) หมายถึง ข้าวเปลือกที่เก็บเกี่ยวและนวดทันที โดยไม่ผ่านกระบวนการลดความชื้น 2 มกษ. 4004-2560 2.5 ข้าวเปลือกแห้ง (dry paddy or dry unhusked rice) หมายถึง ข้าวเปลือกที่ผ่านกระบวนการ ลดความชื้นจนมีความชื้นไม่เกิน 15% 2.6 ข้าวกล้อง (husked rice or brown rice or cargo rice or loonzain rice) หมายถึง ข้าวที่ผ่าน การกะเทาะเอาเปลือกออกเท่านั้น 2.7 ข้าวขาว (white rice or milled rice or polished rice) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการน าข้าวกล้องเจ้า ไปขัดเอาร าออกแล้ว 2.8 ข้าวเหนียวขาว (white glutinous rice) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการน าข้าวกล้องเหนียวไปขัดเอา ร าออกแล้ว 2.9 ข้าวนึ่ง (parboiled rice) หมายถึง ข้าวที่ผ่านกระบวนการท าข้าวนึ่งและขัดเอาร าออกแล้ว 2.10 ส่วนของเมล็ดข้าว (parts of rice kernels) หมายถึง ส่วนของข้าวเต็มเมล็ดแต่ละส่วนที่แบ่งตาม ความยาวของเมล็ดออกเป็น 10 ส่วนเท่าๆ กัน 2.11 ข้าวเต็มเมล็ด (whole kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่อยู่ในสภาพเต็มเมล็ดไม่มีส่วนใดหัก และให้ รวมถึงเมล็ดข้าวที่มีความยาวตั้งแต่ 9 ส่วนขึ้นไป 2.12 ต้นข้าว1/ (head rice) หมายถึง เมล็ดข้าวหักที่มีความยาวมากกว่าข้าวหักแต่ไม่ถึงความยาวของ ข้าวเต็มเมล็ด และให้รวมถึงเมล็ดข้าวแตกเป็นซีกที่มีเนื้อที่เหลืออยู่ตั้งแต่ 80% ของเมล็ด 2.13 ข้าวหัก (brokens or broken rice) หมายถึง เมล็ดข้าวหักที่มีความยาวตั้งแต่ 2.5 ส่วนขึ้นไป แต่ไม่ถึงความยาวของต้นข้าว และให้รวมถึงเมล็ดข้าวแตกเป็นซีกที่มีเนื้อที่เหลืออยู่ ไม่ถึง 80% ของเมล็ด 2.14 ข้าวเมล็ดสี (colour kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีอื่น เช่น สีแดง สีน้ าตาล สีม่วง สีม่วงด า หุ้มอยู่ทั้งเมล็ด หรือติดอยู่เป็นบางส่วนของเมล็ดที่อาจมีปนได้ 2.15 ข้าวเมล็ดท้องไข่ (chalky kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวเจ้าที่เป็นสีขาวขุ่นคล้ายชอล์ก และมีเนื้อที่ ตั้งแต่ 50% ขึ้นไปของเนื้อที่เมล็ดข้าว 2.16 ข้าวเมล็ดลีบ (undeveloped kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่ไม่เจริญเติบโตตามปกติที่ควรเป็น มีลักษณะแฟบแบน 2.17 ข้าวเมล็ดเสีย (damaged kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่เสียอย่างเห็นได้ชัดแจ้งด้วยตาเปล่า ซึ่งเกิดจากความชื้น ความร้อน เชื้อรา แมลง หรืออื่นๆ 2.18 ข้าวเมล็ดเหลือง (yellow kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีบางส่วนหรือทั้งเมล็ดกลายเป็นสีเหลือง อย่างชัดแจ้ง รวมทั้งข้าวนึ่งที่มีสีเหลืองเข้มบางส่วนหรือทั้งเมล็ดอย่างชัดแจ้ง 1/ ต้นข้าวหรือที่เรียกว่าข้าวต้นก็ได้ 3 มกษ. 4004-2560 2.19 ข้าวเมล็ดอ่อน (immature kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีสีเขียวอ่อนได้จากข้าวเปลือกที่ยัง ไม่สุกแก่ 2.20 วัตถุอื่น (foreign matter) หมายถึง สิ่งอื่นๆ ที่มิใช่ข้าว รวมทั้งแกลบและร าที่หลุดจากเมล็ดข้าว 2.21 แอมิโลส (amylose) หมายถึง แป้งชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในเมล็ดข้าว ซึ่งมีผลท าให้เมื่อหุงเป็นข้าวสวย จะมีความอ่อนนุ่มหรือกระด้าง แตกต่างกันไปตามปริมาณแอมิโลส ทั้งนี้ปริมาณแอมิโลส ที่สูงขึ้นจะท าให้ข้าวมีความกระด้างมากขึ้น 2.22 ค่าการสลายเมล็ดในด่าง (alkali spreading value) หมายถึง อัตราการสลายของแป้งในเมล็ดข้าว เมื่อแช่ข้าวที่ขัดสีเยื่อหุ้มเมล็ดออกแล้ว ในสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 1.7% นาน 23 h ที่อุณหภูมิ 30C 3. การแบ่งประเภทและกลุ่ม 3.1 ข้าวไทยแบ่งตามระดับการแปรสภาพข้าวเป็น 3 ประเภท ดังนี้ ก) ข้าวเปลือก ข) ข้าวกล้อง ค) ข้าวขาวและข้าวเหนียวขาว 3.2 ข้าวไทยแบ่งตามปริมาณแอมิโลสเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ ก) กลุ่มข้าวเจ้านุ่ม แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสต่ า (ตั้งแต่ 13.0% ถึง 20.0% โดยน้ าหนัก ที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก) และข้าวมีค่าการสลายเมล็ดในด่างระดับ 6 ถึงระดับ 7 เมื่อหุงสุกเป็นข้าวสวยแล้วเมล็ดจะอ่อนนุ่ม ค่อนข้างเหนียว ข) กลุ่มข้าวเจ้าร่วน แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสปานกลาง (มากกว่า 20.0% ถึง 25.0% โดยน้ าหนัก ที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก) เมื่อหุงสุกเป็นข้าวสวยแล้วเมล็ดข้าว จะร่วน ค่อนข้างนุ่ม ค) กลุ่มข้าวเจ้าแข็ง แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสสูง (มากกว่า 25.0% ขึ้นไปโดยน้ าหนัก ที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก) เมื่อหุงสุกเป็นข้าวสวยแล้วเมล็ดข้าวร่วนและแข็ง ง) กลุ่มข้าวเหนียว แป้งของข้าวเหนียวขาวมีปริมาณแอมิโลสต่ ามากหรือไม่มีเลย ข้าวมี ค่าการสลายเมล็ดในด่างระดับ 6 ถึงระดับ 7 เมื่อนึ่งสุกเมล็ดข้าวจะเหนียวและจับติดกัน ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของข้าวไทยที่จัดอยู่ในแต่ละกลุ่มข้างต้น มีรายละเอียด ตามภาคผนวก ก 4 มกษ. 4004-2560 4. คุณภาพ 4.1 ข้อก าหนดทั่วไป ข้าวไทย ทั้งข้าวเปลือก ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาว ต้องมีคุณภาพทั่วไป ดังต่อไปนี้ ก) มีความปลอดภัยและคุณภาพเหมาะสมต่อการบริโภค (อย่างน้อยตามข้อ 7 ข้อ 8 และข้อ 9) ข) เมล็ดข้าวมีลักษณะปรากฏสม่ าเสมอ เป็นไปตามชั้นคุณภาพตามข้อ 4.3 ค) ไม่มีกลิ่นผิดปกติ เช่น กลิ่นเหม็นเปรี้ยว 4.2 ข้อก าหนดเฉพาะ 4.2.1 ข้าวเปลือกของข้าวไทย ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะ ดังต่อไปนี้ ก) มีความชื้นไม่เกิน 15% กรณีข้าวเปลือกที่จะน าไปเก็บรักษาจะต้องมีความชื้นไม่เกิน 14% การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 ในทางปฏิบัติ การซื้อขายข้าวเปลือกสดของข้าวไทยตามปริมาณความชื้นสามารถท าได้ใน ระดับที่ต่ ากว่าหรือสูงกว่าเกณฑ์ความชื้นที่ก าหนด 15% ขึ้นกับข้อตกลงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ที่มีการค านวณการตัดราคา หรือตัดน้ าหนัก หรือเพิ่มราคาซื้อขาย ตามปริมาณความชื้นของ ข้าวเปลือกสดของข้าวไทยนั้น ข) กรณีข้าวเปลือกแห้ง ให้มีคุณภาพการขัดสีได้ข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าวของข้าวขาวตั้งแต่ 34% ขึ้นไป โดยน้ าหนัก ในทางปฏิบัติ การซื้อขายข้าวเปลือกแห้งของข้าวไทยตามคุณภาพการขัดสีสามารถท าได้ ในระดับที่ต่ ากว่าหรือสูงกว่าเกณฑ์คุณภาพการขัดสีที่ก าหนด 34% โดยน้ าหนัก ขึ้นกับข้อตกลง ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ที่มีการค านวณการตัดราคา หรือตัดน้ าหนัก หรือเพิ่มราคาซื้อขาย ตามคุณภาพการขัดสีของข้าวเปลือกแห้งของข้าวไทยนั้น ค) มีข้าวและวัตถุอื่นที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกสด ไม่เกินตามที่ระบุในตารางที่ 1 ง) มีข้าวและวัตถุอื่นที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกแห้ง ไม่เกินตามที่ระบุในตารางที่ 2 และตารางที่ 3 5 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ 1 ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกสดของข้าวไทย (ข้อ 4.2.1 ค)) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ เกณฑ์การยอมรับ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเมล็ดสี* <1.0 ข้าวเมล็ดลีบรวมวัตถุอื่น** <2.0 ข้าวเมล็ดอ่อน** <6.0 หมายเหตุ การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 * ทดสอบจากข้าวกล้อง ** ทดสอบจากข้าวเปลือกและ/หรือข้าวกล้อง ตารางที่ 2 ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกเจ้าแห้งของข้าวไทย (ข้อ 4.2.1 ง)) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ เกณฑ์การยอมรับ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเมล็ดสี* <1.0 ข้าวเมล็ดเหลือง*** <1.0 ข้าวเมล็ดเสีย*** <1.0 ข้าวเมล็ดลีบรวมวัตถุอื่น** <2.0 ข้าวเมล็ดอ่อน** <6.0 ข้าวเมล็ดท้องไข่***** <7.0 ข้าวเหนียว**** <2.0 หมายเหตุ การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 *ทดสอบจากข้าวกล้อง ** ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง ***ทดสอบจากข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว *****ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว ******ทดสอบจากข้าวขาว 6 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ 3 ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกเหนียวแห้งของข้าวไทย (ข้อ 4.2.1 ง)) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ เกณฑ์การยอมรับ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเมล็ดสี* <1.0 ข้าวเมล็ดเหลือง*** <1.0 ข้าวเมล็ดเสีย*** <1.0 ข้าวเมล็ดลีบรวมวัตถุอื่น** <2.0 ข้าวเมล็ดอ่อน** <6.0 ข้าวเจ้า**** <5.0 หมายเหตุ การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 *ทดสอบจากข้าวกล้อง ** ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง ***ทดสอบจากข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว *****ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว 4.2.2 ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะ ดังต่อไปนี้ ก) ปราศจากแมลงและไรที่มีชีวิต ข) มีความชื้นไม่เกิน 14% 4.3 การแบ่งชั นคุณภาพ 4.3.1 ชั นคุณภาพข้าวเปลือกของข้าวไทย แบ่งโดยการวัดความยาวของข้าวกล้อง ได้เป็น 3 ชั้นคุณภาพ ตามที่ระบุในตารางที่ 4 ดังนี้ ตารางที่ 4 ชั นคุณภาพข้าวเปลือกของข้าวไทยตามความยาวของข้าวกล้อง และเกณฑ์ยอมรับ (ข้อ 4.3.1) ประเภท ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง* >7.2 mm 6.8 – <7.2 mm < 6.8 – 6.4 mm < 6.4 mm ข้าวเปลือก ชั้นคุณภาพที่ 1 >75% - <5% <5% ข้าวเปลือก ชั้นคุณภาพที่ 2 >20% - <10% ข้าวเปลือก ชั้นคุณภาพที่ 3 - <50% หมายเหตุ * การทดสอบพิจารณาเฉพาะข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหัก ไม่รวมข้าวหัก 7 มกษ. 4004-2560 4.3.2 ชั นคุณภาพข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย ชั้นคุณภาพของข้าวกล้องไทย ข้าวขาวไทย ข้าวเหนียวขาวไทย ข้อก าหนดส่วนผสมข้าวและสิ่งที่ อาจมีปนได้ และระดับการขัดสี ให้เป็นไปตามข้อก าหนดของข้าวขาวและข้าวกล้องแต่ละชนิด ตามมาตรฐานสินค้าข้าว ที่ประกาศโดยกระทรวงพาณิชย์ (รายละเอียดตามภาคผนวก ข) 5. การบรรจุหีบห่อ 5.1 ข้าวเปลือกของข้าวไทย หากมีการบรรจุ เช่น บรรจุกระสอบ กระสอบควรจะสะอาด แข็งแรง และมีการเย็บหรือปิดผนึกแน่น เพื่อป้องกันการปนเปื้อน การปนของข้าวอื่นจากภายนอก และป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น 5.2 ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย ต้องบรรจุในภาชนะบรรจุที่เก็บรักษาเมล็ดข้าวได้เป็นอย่างดี วัสดุที่ใช้ต้องสะอาดมีคุณภาพ ที่สามารถป้องกันการปนเปื้อนจากภายนอก มีคุณสมบัติทนทานต่อการขนส่ง และสามารถ ป้องกันความเสียหายอันจะมีผลต่อคุณภาพของเมล็ดข้าว หากมีการใช้กระดาษหรือตราประทับ ที่มีข้อมูลทางการค้าต้องใช้หมึกพิมพ์หรือกาวที่ไม่เป็นพิษ 6. การแสดงฉลากและเครื่องหมาย 6.1 สินค้าที่จ าหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค ต้องมีข้อความแสดงรายละเอียดที่หีบห่อหรือสิ่งห่อหุ้ม หรือป้ายสินค้า โดยข้อความต้อง มองเห็นได้ง่าย ชัดเจน ไม่หลุดลอก ไม่เป็นเท็จหรือหลอกลวงหรือที่อาจจะท าให้เข้าใจผิด เกี่ยวกับลักษณะสินค้า อย่างน้อยดังต่อไปนี้ ก) ชื่อสินค้า ให้แสดงข้อความว่า “ข้าวไทย” และอาจแสดงข้อความภาษาอังกฤษว่า “THAI RICE” ข) พันธุ์ข้าว (กรณีที่จ าหน่ายเป็นข้าวเฉพาะพันธุ์และต้องการระบุชื่อพันธุ์ข้าว) ต้องมีข้าวพันธุ์ที่ระบุชื่อไม่น้อยกว่า 90% โดยปริมาณ หรือมีเอกสารหลักฐานที่ท าให้เชื่อมั่น ได้ว่าเป็นข้าวไทยพันธุ์ที่ระบุชื่อและสามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นข้าวตรงตามพันธุ์ที่ระบุไว้ ค) ประเภทสินค้าตามข้อ 3.1 ให้แสดงข้อความว่าเป็นข้าวกล้อง หรือข้าวขาว หรือข้าวเหนียวขาว ง) กลุ่มข้าวไทยตามข้อ 3.2 (กรณีมีการจัดกลุ่ม) จ) น้ าหนักสุทธิเป็นระบบเมตริก 8 มกษ. 4004-2560 ฉ) ชั้นคุณภาพ (กรณีมีการจัดชั้นคุณภาพ) ช) วัน เดือน ปี ที่ควรบริโภคก่อน และ/หรือ วัน เดือน ปี ที่ผลิต หรือบรรจุ กรณีของข้าวกล้องไทย ให้ระบุ วัน เดือน ปี ที่ควรบริโภคก่อน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง ซ) ข้อมูลผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ให้ระบุชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฌ) ประเทศที่เป็นแหล่งก าเนิด ให้ระบุชื่อประเทศไทย ยกเว้นกรณีที่ผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศ ญ) ค าแนะน าการใช้หรือการหุงต้ม ฎ) ภาษา กรณีที่ผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศต้องใช้ข้อความเป็นภาษาไทย แต่จะมีภาษาต่างประเทศ ด้วยก็ได้ กรณีที่ผลิตเพื่อการส่งออกให้แสดงข้อความเป็นภาษาต่างประเทศได้ 6.2 สินค้าที่ไม่ได้จ าหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค (non-retail container) หรือสินค้า ที่จ าหน่ายเป็นปริมาณมากโดยไม่ได้บรรจุหีบห่อ ต้องมีข้อความที่ระบุในเอกสารก ากับสินค้า หรือฉลาก หรือแสดงไว้ที่หีบห่อ โดยข้อความ ต้องมองเห็นได้ง่าย ชัดเจน ไม่หลุดลอก ไม่เป็นเท็จหรือหลอกลวง หรือที่อาจจะท าให้เข้าใจผิด เกี่ยวกับลักษณะของสินค้า อย่างน้อยดังต่อไปนี้ ก) ชื่อสินค้า ให้แสดงข้อคว ามค าว่า “ข้าวไทย” และอาจแสดงข้อความภาษาอังกฤษว่า “THAI RICE” ข) พันธุ์ข้าว (กรณีที่จ าหน่ายเป็นข้าวเฉพาะพันธุ์และต้องการระบุชื่อพันธุ์ข้าว) ต้องมีข้าวพันธุ์ที่ระบุชื่อไม่น้อยกว่า 90% โดยปริมาณ หรือมีเอกสารหลักฐานที่ท าให้เชื่อมั่น ได้ว่าเป็นข้าวไทยพันธุ์ที่ระบุชื่อและสามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นข้าวตรงตามพันธุ์ที่ระบุไว้ ค) ประเภทสินค้าตามข้อ 3.1 ให้แสดงข้อความว่าเป็นข้าวเปลือก หรือข้าวกล้อง หรือข้าวขาว หรือข้าวเหนียวขาว ง) กลุ่มข้าวไทยตามข้อ 3.2 (กรณีมีการจัดกลุ่ม) จ) น้ าหนักสุทธิเป็นระบบเมตริก ฉ) ชั้นคุณภาพ (กรณีมีการจัดชั้นคุณภาพ) ช) วัน เดือน ปี ที่ผลิตหรือบรรจุ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 9 มกษ. 4004-2560 ซ) ข้อมูลผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ให้ระบุชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฌ) ประเทศที่เป็นแหล่งก าเนิด ให้ระบุชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ญ) ภาษา กรณีที่ผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศต้องใช้ข้อความเป็นภาษาไทย แต่จะมีภาษาต่างประเทศ ด้วยก็ได้ กรณีที่ผลิตเพื่อการส่งออกให้แสดงข้อความเป็นภาษาต่างประเทศได้ 6.3 เครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร การแสดงเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง เรื่อง ก าหนด ลักษณะของเครื่องหมาย การใช้เครื่องหมาย และการแสดงเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร และประกาศส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติที่เกี่ยวข้อง 7. สารปนเปื้อน ปริมาณสูงสุดของสารปนเปื้อนในสินค้าข้าวไทย ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือข้อก าหนดของ มาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง 8. สารพิษตกค้าง ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในข้าวไทย ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และ มกษ. 9002 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด และ มกษ. 9003 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้อนจาก สาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ 9. สุขลักษณะ 9.1 การผลิตและการปฏิบัติต่อข้าวไทยในขั้นตอนต่างๆ รวมถึงการเก็บรักษา การบรรจุ และการขนส่ง ต้องปฏิบัติอย่างถูกสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค 9.2 การปฏิบัติในระดับแปลงนา ต้องได้รับการรับรองหรือผ่านการประเมินตาม มกษ. 4401 มาตรฐาน สินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) ส าหรับข้าว หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า 10 มกษ. 4004-2560 9.3 การปฏิบัติในการสีและการบรรจุ ต้องได้รับการรับรองตาม - มกษ. 4403 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติที่ดีส าหรับโรงสีข้าว หรือ - มกษ. 9023 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติ: หลักการทั่วไปเกี่ยวกับ สุขลักษณะอาหาร หรือ - มกษ. 9024 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้อง ควบคุมและแนวทางการน าไปใช้ หรือ - ระบบการปฏิบัติที่ดีส าหรับการผลิต (Good Manufacturing Practices: GMP) และ/หรือระบบ การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (Hazard Analysis and Critical Control Point: HACCP) ตามมาตรฐาน General Principles of Food Hygiene (CAC/RCP 1-1969) หรือ - มาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า หรือ - ประกาศส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขของผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประ กอบการตรวจสอบมาตรฐาน หลักเกณฑ์เฉพาะ ส าหรับการรับรองผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานสินค้าข้าว 10. วิธีวิเคราะห์และชักตัวอย่าง 10.1 วิธีชักตัวอย่าง 10.1.1 วิธีชักตัวอย่างข้าวไทยส าหรับการตรวจวิเคราะห์ตามรายการในข้อ 10.2 ให้เป็นไปตาม ภาคผนวก ค 10.1.2 วิธีชักตัวอย่างที่จ าเป็นนอกเหนือจากที่ระบุ ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือข้อก าหนดของ มาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง 11 มกษ. 4004-2560 10.2 วิธีวิเคราะห์ 10.2.1 ให้เป็นไปตามวิธีที่ก าหนดในตารางที่ 5 10.2.2 วิธีวิเคราะห์ที่จ าเป็นนอกเหนือจากที่ระบุ ให้เป็นไปตามกฎหมาย หรือข้อก าหนดของมาตรฐาน สินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 5 วิธีวิเคราะห์ (ข้อ 10.2) ข้อก าหนด วิธีวิเคราะห์ หลักการ 1. ปริมาณแอมิโลส (ข้อ 3.2) ภาคผนวก ง.1 สเปกโทรโฟโตเมตรี (spectrophotometry) 2. ปริมาณความชื้น (ข้อ 4.2.1 ก) และข้อ 4.2.2 ข)) ภาคผนวก ง.2 และ/ หรือ ภาคผนวก ง.3 แกรวิเมตรี (gravimetry) และ/หรืออิ เล็กทรอเมตรี (electrometry) 3. วัตถุอื่นปนในข้าวเปลือก (ข้อ 4.2.1 ค) และข้อ 4.2.1 ง)) ภาคผนวก ง.4 แกรวิเมตรี (gravimetry) 4. คุณภาพการขัดสีข้าว (ข้อ 4.2.1 ข)) ภาคผนวก ง.5 แกรวิเมตรี (gravimetry) 5. ค่าการสลายเมล็ดข้าวในด่าง (ส าหรับกลุ่มข้าวเจ้านุ่มและ กลุ่มข้าวเหนียว) (ข้อ 3.2) ภาคผนวก ง.6 การสลายของเมล็ดข้าวในด่าง 6. ปริมาณข้าวเจ้าร่วนและข้าวเจ้าแข็ง ในข้าวเจ้านุ่ม หรือปริมาณข้าวอื่นปน (ข้อ 3.2) ภาคผนวก ง.7 และ/ หรือ ภาคผนวก ง.8 ปฏิกิริยาที่ท าให้เกิดสี (colour reaction) และ/หรือ การท าให้สุก (cooking) 12 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ก ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของข้าวไทย (ข้อ 3.2) ตัวอย่างพันธุ์ข้าวของสินค้าข้าวไทย ในกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม กลุ่มข้าวเจ้าร่วน กลุ่มข้าวเจ้าแข็ง และกลุ่มข้าวเหนียวและลักษณะประจ าพันธุ์ มีรายละเอียด ตามตารางที่ ก.1, ก.2, ก.3 และ ก.4 ตารางที่ ก.1 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์ข้าวและลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว กข21 กข39 กข43 กข51 กข53 กข59 พิษณุโลก 80 เจ้าขาว เชียงใหม่ เจ้าลีซอ เจ้าฮ่อ ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) 17.0 ถึง 20.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 ความไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟางกระน้ าตาล ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.3 ถึง 11.1 9.8 ถึง 11.6 10.0 ถึง 11.8 9.8 ถึง 11.6 9.4 ถึง 11.2 9.8 ถึง 11.6 9.2 ถึง 11.0 9.1 ถึง 10.9 9.1 ถึง 10.9 9.0 ถึง 10.8 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 6.7 ถึง 7.9 7.4 ถึง 8.6 6.9 ถึง 8.1 7.3 ถึง 8.5 6.9 ถึง 8.1 7.4 ถึง 8.6 6.8 ถึง 8.0 7.1 ถึง 8.3 6.7 ถึง 7.9 6.8 ถึง 8.0 อัตราส่วนความยาวต่อ ความกว้างของเมล็ดข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 3.8:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.1:1 ถึง 4.2:1 3.1:1 ถึง 4.2:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 2.7:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.1:1 ถึง 4.2:1 2.1:1 ถึง 3.0:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.0 ถึง 3.0 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 3.1 ถึง 3.9 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.1 ถึง 3.1 2.0 ถึง 3.0 ระดับค่าการสลายเมล็ด ในด่าง 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 13 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.2 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าร่วน ลักษณะประจ า พันธุ์ พันธุ์ข้าว กข23 กข37 กข55 กข63 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 60 พิษณุโลก 3 ขาวตาแห้ง 17 ช่อลุง 97 ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก) 23.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 22.0 ถึง 23.0 23.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 ความไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.0 ถึง 10.8 9.7 ถึง 11.5 9.6 ถึง 11.4 7.6 ถึง 9.4 9.0 ถึง 10.8 9.2 ถึง 11.6 9.1 ถึง 10.9 9.1 ถึง 10.9 9.3 ถึง 11.1 ความยาวเมล็ดข้าว กล้อง (มิลลิเมตร) 6.7 ถึง 7.9 7.3 ถึง 8.5 6.9 ถึง 8.1 5.6 ถึง 6.8 6.7 ถึง 7.9 6.3 ถึง 8.7 6.8 ถึง 8.0 6.9 ถึง 8.1 6.5 ถึง 7.7 อัตราส่วนความยาว ต่อความกว้างของ เมล็ดข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 3.6:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 4.3:1 2.1:1 ถึง 3.0:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 น้ าหนักของ ข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.1 ถึง 3.1 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.0 ถึง 3.5 2.1 ถึง 3.1 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 14 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.3 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าแข็ง (1/3) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 กข27 กข29 กข31 (ปทุมธานี 80) กข35 (รังสิต 80) ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก) 26.0 ถึง 27.0 26.0 ถึง 28.0 26.0 ถึง 28.0 มากกว่า 25 24.0 ถึง 29.0 26.6 ถึง 29.4 27.0 ถึง 30.0 27.0 ถึง 29.0 ความไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.6 ถึง 12.0 9.5 ถึง 11.3 8.9 ถึง 11.1 9.8 ถึง 11.6 9.4 ถึง 11.2 8.6 ถึง 10.4 9.5 ถึง 11.3 9.2 ถึง 11.0 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 6.8 ถึง 8.6 7.3 ถึง 8.5 6.6 ถึง 8.0 6.9 ถึง 8.1 6.9 ถึง 8.1 6.7 ถึง 7.9 6.8 ถึง 8.0 6.8 ถึง 8.0 อัตราส่วนความยาว ต่อความกว้างของ เมล็ดข้าวกล้อง 3.2:1 ถึง 4.1:1 3.5:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 3.6:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.1 ถึง 3.1 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.1 ถึง 3.1 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 15 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.3 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าแข็ง (2/3) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว กข41 กข47 กข 49 กข57 กข61 เจ๊กเชย 1 เหลืองประทิว 123 ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) มากกว่า 25 26.0 ถึง 28.0 มากกว่า 25 มากกว่า 25 มากกว่า 25 มากกว่า 25 29.0 ถึง 32.0 ความไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง เหลือง ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.5 ถึง 11.3 9.5 ถึง 11.3 9.5 ถึง 11.3 9.5 ถึง 11.3 9.6 ถึง 11.4 9.4 ถึง 11.2 9.2 ถึง 11.0 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 7.1 ถึง 8.3 7.3 ถึง 8.5 7.5 ถึง 8.7 6.8 ถึง 8.0 7.5 ถึง 8.7 7.1 ถึง 8.3 7.2 ถึง 8.4 อัตราส่วนความยาวต่อ ความกว้างของเมล็ด ข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.2:1 ถึง 4.4:1 3.1:1 ถึง 4.3:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.3:1 3.1:1 ถึง 4.3:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.5 ถึง 3.2 2.5 ถึง 3.2 2.6 ถึง 3.3 2.5 ถึง 3.2 2.5 ถึง 3.2 16 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.3 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าแข็ง (3/3) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว ขาวบ้านนา 432 พลายงามปราจีนบุรี ปราจีนบุรี 1 ปราจีนบุรี 2 อยุธยา 1 เฉี ยงพัทลุง เล็บนกปัตตานี ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) 26.0 ถึง 28.0 26.0 ถึง 28.0 26.0 ถึง 27.0 มากกว่า 25 มากกว่า 25 มากกว่า 25 มากกว่า 25 ความไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟางก้นจุด ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 10.1 ถึง 11.9 9.7 ถึง 11.5 9.7 ถึง 11.5 9.3 ถึง 11.1 10.3 ถึง 12.1 8.9 ถึง 10.7 7.5 ถึง 9.3 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 7.4 ถึง 8.6 6.9 ถึง 8.1 6.8 ถึง 8.0 6.6 ถึง 7.8 7.1 ถึง 8.3 6.1 ถึง 7.3 5.4 ถึง 6.6 อัตราส่วนความยาวต่อ ความกว้างของเมล็ด ข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 3.7:1 3.1:1 ถึง 3.7:1 3.1:1 ถึง 3.7:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 3.8:1 2.3:1 ถึง 3.0:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.1 ถึง 3.1 2.3 ถึง 3.3 1.9 ถึง 2.9 1.9 ถึง 2.9 17 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.4 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเหนียว (1/2) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว กข10 กข12 (หนองคาย 80) กข14 แพร่ 1 สันป่าตอง 1 ความไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง สีข้าวเปลือก ฟาง น้ าตาล ฟางขีดน้ าตาล น้ าตาล ฟาง ความยาวเมล็ดข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.9 ถึง 11.7 9.4 ถึง 11.2 9.7 ถึง 11.5 9.6 ถึง 11.4 9.5 ถึง 11.3 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 7.0 ถึง 8.2 6.6 ถึง 7.8 6.9 ถึง 8.1 6.8 ถึง 8.0 6.5 ถึง 7.7 อัตราส่วนความยาวต่อความกว้างของ เมล็ดข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 2.4:1 ถึง 3.0:1 3.1:1 ถึง 3.7:1 3.1:1 ถึง 3.8:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.1 ถึง 3.1 2.2 ถึง 3.2 2.3 ถึง 3.3 ตารางที่ ก.4 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเหนียว (2/2) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว เห นียวอุบล 1 เหนียวอุบล 2 เหนียวสันป่าตอง เขี ยวงู 8974 หางยี 71 ซิวแม่จัน ความไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีข้าวเปลือก ฟาง น้ าตาล น้ าตาล ฟาง น้ าตาล ฟางก้นจุดม่วง ความยาวเมล็ดข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.5 ถึง 11.3 9.3 ถึง 11.1 9.5 ถึง 11.3 9.8 ถึง 11.6 9.3 ถึง 11.1 9.9 ถึง 11.7 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 6.6 ถึง 7.8 6.6 ถึง 7.8 6.6 ถึง 7.8 6.7 ถึง 7.9 6.5 ถึง 7.7 6.8 ถึง 8.0 อัตราส่วนความยาวต่อความกว้าง ของเมล็ดข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 3.8:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.3:1 ถึง 4.5:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.3 ถึง 3.3 2.1 ถึง 3.1 2.2 ถึง 3.2 2.3 ถึง 3.3 18 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ข การแบ่งชั นคุณภาพข้าวขาวไทย ข้าวกล้องไทย และข้าวเหนียวขาวไทย ข้อก าหนดส่วนผสม ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ และระดับการขัดสีของข้าวขาวแต่ละชั นคุณภาพ2/ (ข้อ 4.3.2) ข.1 นิยาม (ใช้ในภาคผนวก ข ของมาตรฐานนี้) ข.1.1 ปลายข้าวซีวัน (small brokens C1) หมายถึง เมล็ดข้าวหักขนาดเล็กที่ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 7 ข.1.2 ข้าวเมล็ดขัดสีต่ ากว่ามาตรฐาน (undermilled kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่ผ่านการขัดสีต่ ากว่า ระดับการขัดสีที่ก าหนดไว้ส าหรับข้าวแต่ละชนิด ข.1.3 ตะแกรงเบอร์ 7 (sieve No.7) หมายถึง ตะแกรงโลหะรูกลม หนา 0.79 mm (0.031 นิ้ว) และเส้นผ่านศูนย์กลางรู 1.75 mm (0.069 นิ้ว) ข.1.4 เมล็ดพืชอื่น (other seeds) หมายถึง เมล็ดพืชอื่นๆ ที่มิใช่เมล็ดข้าว ข.1.5 ระดับการขัดสี (milling degree) หมายถึง ระดับของการขัดสีข้าว ให้แบ่งระดับการขัดสีออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ (1) สีดีพิเศษ (extra well milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกเกือบทั้งหมดจนเมล็ดข้าว มีลักษณะสวยงามเป็นพิเศษ (2) สีดี (well milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกเกือบทั้งหมดจนเมล็ดข้าวมีลักษณะ สวยงามดี (3) สีดีปานกลาง (reasonably well milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกเป็นส่วนมากจนเมล็ดข้าว มีลักษณะสวยงามพอสมควร (4) สีธรรมดา (ordinarily milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกแต่เพียงบางส่วน ข.1.6 พื้นข้าว (rice classification) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีขนาดความยาวระดับต่างๆ ตามที่ก าหนด ซึ่งเป็นส่วนผสมของข้าวแต่ละชั้นตามอัตราส่วนที่ก าหนด 2/ ที่มา : ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง มาตรฐานสินค้าข้าว พ.ศ.2559 19 มกษ. 4004-2560 ข.2 ชั นของข้าวไทย ชั้นของข้าวไทยตามข้อ ข.1.6 แบ่งตามความยาวของข้าวขาวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหัก เป็น 4 ชั้น ดังนี้ (1) ข้าวเมล็ดยาว ชั้น 1 (long grain class 1) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาด ความยาวเกิน 7.0 mm (2) ข้าวเมล็ดยาว ชั้น 2 (long grain class 2) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาด ความยาวเกิน 6.6 mm ถึง 7.0 mm (3) ข้าวเมล็ดยาว ชั้น 3 (long grain class 3) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาด ความยาวเกิน 6.2 mm ถึง 6.6 mm (4) ข้าวเมล็ดสั้น (short grain) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาดความยาวไม่เกิน 6.2 mm ข.3 ชั นคุณภาพ ข.3.1 ข้าวไทยประเภทข้าวขาว แบ่งเป็น 12 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ (1) ข้าวขาว 100% ชั้น 1 (2) ข้าวขาว 100% ชั้น 2 (3) ข้าวขาว 100% ชั้น 3 (4) ข้าวขาว 5% (5) ข้าวขาว 10% (6) ข้าวขาว 15% (7) ข้าวขาว 25% เลิศ (8) ข้าวขาว 25% (9) ข้าวขาว 35% (10) ข้าวขาว 45% (11) ข้าวขาวหักเอวันเลิศพิเศษ (12) ข้าวขาวหักเอวันเลิศ 20 มกษ. 4004-2560 ข.3.2 ข้าวไทยประเภทข้าวกล้อง แบ่งเป็น 6 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ (1) ข้าวกล้อง 100% ชั้น 1 (2) ข้าวกล้อง 100% ชั้น 2 (3) ข้าวกล้อง 100% ชั้น 3 (4) ข้าวกล้อง 5% (5) ข้าวกล้อง 10% (6) ข้าวกล้อง 15% ข.3.3 ข้าวไทยประเภทข้าวเหนียว แบ่งเป็น 3 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ (1) ข้าวเหนียว 10% (2) ข้าวเหนียว 25% (3) ข้าวเหนียวขาวหักเอวัน ข.4 ข้อก าหนดส่วนผสมข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ และระดับการขัดสีของข้าวขาว และข้าวเหนียวขาว ส าหรับข้าวไทยแต่ละชั นคุณภาพ ให้เป็นไปตามที่ก าหนดในตารางที่ ข.1, ข.2, ข.3, ข.4 และ ข.5 21 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.1 มาตรฐานข้าวขาวของข้าวไทย ชั น คุณภาพ ข้าวขาว พื นข้าว (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วน ของ ต้นข้าว ส่วนของข้าวหัก ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ ระดับ การขัดสี เมล็ดยาว เมล็ดสั น (ไม่เกิน 6.2 mm) ข้าวเต็ม เมล็ด ต้นข้าว ข้าวหักและปลายข้าว C1 ข้าวเมล็ดแดง และ/หรือ ข้าว เมล็ดขัดสี ต่ ากว่า มาตรฐาน (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) เมล็ดเหลือง (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) เมล็ดท้องไข่ (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) เมล็ดเสีย (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) ข้าว เหนียว (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) เมล็ดลีบ เมล็ดอ่อน เมล็ดพืชอื่น วัตถุอื่น (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) ข้าว เปลือก (เมล็ด /กก.) ชั น 1 (เกิน 7.0 mm) ชั น 2 (เกิน 6.6 ถึง 7.0 mm) ชั น 3 (เกิน 6.2 ถึง 6.6 mm) รวม ข้าวหักที่มี ความยาว ต่ ากว่า ก าหนด และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ปลายข้าว C1 100% ชั้น 1 70.0 ส่วนที่ เหลือ 5.0 0 60.0 ส่วนที่เหลือ 4.0 0.1 0.1 8.0 5.0 ถึง 8.0 0.5 0.1 3.0 0.2 1.5 0.1 3 สีดีพิเศษ 100% ชั้น 2 40.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 60.0 ส่วนที่เหลือ 4.5 0.5 0.1 8.0 5.0 ถึง 8.0 0.5 0.2 6.0 0.25 1.5 0.2  5 สีดีพิเศษ 100% ชั้น 3 30.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 60.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 0.5 0.1 8.0 5.0 ถึง 8.0 0.5 0.2 6.0 0.25 1.5 0.2 5 สีดีพิเศษ 5% 20.0 ส่วนที่เหลือ 10.0 60.0 ส่วนที่เหลือ 7.0 0.5 0.1 7.5 3.5 ถึง 7.5 2.0 0.5 6.0 0.25 1.5 0.3 8 สีดี 10% 10.0 ส่วนที่เหลือ 15.0 55.0 ส่วนที่เหลือ 12.0 0.7 0.3 7.0 3.5 ถึง 7.0 2.0 1.0 7.0 0.5 1.5 0.4 13 สีดี 15% 5.0 ส่วนที่เหลือ 30.0 55.0 ส่วนที่เหลือ 17.0 2.0 0.5 6.5 3.0 ถึง 6.5 5.0 1.0 7.0 1.0 2.0 0.4 13 สีดีปาน กลาง 25% เลิศ 50.0 50.0 40.0 ส่วนที่เหลือ 28.0 ส่วนที่เหลือ 1.0 5.0 5.0 5.0 1.0 7.0 1.0 2.0 1.0 15 สีดีปาน กลาง 25% 50.0 50.0 40.0 ส่วนที่เหลือ 28.0 ส่วนที่เหลือ 2.0 5.0 5.0 7.0 1.0 8.0 2.0 2.0 2.0 20 สีธรรมดา แต่ไม่เกิน สีดีปานกลาง 35% 50.0 50.0 32.0 ส่วนที่เหลือ 40.0 ส่วนที่เหลือ 2.0 5.0 5.0 7.0 1.0 10.0 2.0 2.0 2.0 20 สีธรรมดา แต่ไม่เกิน สีดีปานกลาง 45% 50.0 50.0 28.0 ส่วนที่เหลือ 50.0 ส่วนที่เหลือ 3.0 5.0 5.0 7.0 1.0 10.0 2.0 2.0 2.0 20 สีธรรมดา แต่ไม ่เกิน สีดีปานกลาง 22 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.2 มาตรฐานข้าวขาวหักของข้าวไทย ชนิดข้าวหัก พื นข้าวที่ได้ จากการขัดสี ข้าวขาว ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเต็มเมล็ด (>7 mm) ข้าวเต็มเมล็ด รวมกับข้าวหัก ที่มีความยาว >6.5 ส่วน ข้าวหักที่มี ความยาว >5.0 ส่วน ข้าวหักที่มี ความยาว <6.5 ส่วน และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ข้าวหักที่มี ความยาว <5.0 ส่วน และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ปลายข้าว C1 ข้าวเหนียวขาว วัตถุอื่น ทั งหมด (รวมปลายข้าว C1) ปลายข้าว C1 เอวันเลิศพิเศษ 100% 15 74.0 10.0 1.0 1.5 0.5 0.5 เอวันเลิศ 100%, 5%, 10% 15.0 80.0 5.0 1.5 0.5 0.5 23 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.3 มาตรฐานข้าวกล้องของข้าวไทย ชั นคุณภาพ ข้าวกล้อง พื นข้าว (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วน ของ ต้น ข้าว ส่วนของ ข้าวหัก ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) เมล็ดยาว เมล็ดสั น (ไม่เกิน 6.2 mm) ข้าว เต็ม เมล็ด ต้นข้าว ข้าวหัก ข้าว เมล็ดแดง เมล็ดเหลือง เมล็ดท้องไข่ เมล็ดเสีย ข้าว เหนียว เมล็ดลีบ เมล็ดอ่อน เมล็ดพืชอื่น วัตถุอื่น ข้าว เปลือก ชั น 1 (เกิน 7.0 mm) ชั น 2 และหรือ ชั น 3 (เกิน 6.2 ถึง 7.0 mm) 100% ชั้น 1 70.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 80.0 ส่วนที่เหลือ 4.0 8.0 5.0 ถึง 8.0 1.0 0.50 3.0 0.50 1.5 3.0 0.5 100% ชั้น 2 55.0 ส่วนที่เหลือ 6.0 80.0 ส่วนที่เหลือ 4.5 8.0 5.0 ถึง 8.0 1.5 0.75 6.0 0.75 1.5 5.0 1.0 100% ชั้น 3 40.0 ส่วนที่เหลือ 7.0 80.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 8.0 5.0 ถึง 8.0 2.0 0.75 6.0 0.75 1.5 5.0 1.0 5% 30.0 ส่วนที่เหลือ 10.0 75.0 ส่วนที่เหลือ 7.0 7.5 3.5 ถึง 7.5 2.0 1.0 6.0 1.0 1.5 6.0 1.0 10% 20.0 ส่วนที่เหลือ 15.0 70.0 ส่วนที่เหลือ 12.0 7.0 3.5 ถึง 7.0 2.0 1.0 7.0 1.0 1.5 7.0 2.0 15% 10.0 ส่วนที่เหลือ 35.0 65.0 ส่วนที่เหลือ 17.0 6.5 3.0 ถึง 6.5 5.0 1.0 7.0 1.5 2.5 8.0 2.0 24 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.4 มาตรฐานข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย ชั นคุณภาพ ข้าวเหนียวขาว ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วน ของ ต้นข้าว ส่วนของ ข้าวหัก ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ระดับ การขัดสี ข้าวเต็ม เมล็ด ต้นข้าว ข้าวหักและปลายข้าว C1 ข้าวเจ้า ข้าวเมล็ด แดง หรือ ข้าวเมล็ด ขัดสี ต่ ากว่า มาตรฐาน เมล็ด เหลือง เมล็ด เสีย เมล็ดลีบ เมล็ดอ่อน เมล็ดพืชอื่น วัตถุอื่น ข้าวเปลือก (เมล็ด/ กก.) รวม ข้าวหักที่มี ความยาว ต่ ากว่าก าหนด และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ปลายข้าว C1 10% ≥55.0 ส่วนที่เหลือ ≤12.0 ≤0.7 ≤0.3 ≥7.0 ≥3.5 ถึง 7.0 ≤15.0 ≤2.0 ≤1.5 ≤0.5 ≤0.5 ≤10 สีดี 25% ≥40.0 ส่วนที่เหลือ ≤28.0 ส่วนที่เหลือ ≤2.0 ≥5.0 ≤5.0 ≤15.0 ≤6.0 ≤4.0 ≤2.0 ≤3.0 ≤20 สี ธรรมดา 25 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.5 มาตรฐานข้าวเหนียวขาวหักของข้าวไทย ชั นคุณภาพ ข้าวเหนียวหัก พื นข้าวที่ได้ จากการขัดสี ข้าวเหนียวขาว ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเหนียว เต็มเมล็ด ข้าวเหนียว เต็มเมล็ด รวมกับ ข้าวหักที่มี ความยาว >6.5 ส่วน ข้าวหักที่มี ความยาว >5.0 ส่วน ข้าวหักที่มี ความยาว <6.5 ส่วน และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ข้าวหักที่มี ความยาว <5.0 ส่วน และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ปลายข้าว เหนียวขาว C1 ข้าวขาว วัตถุอื่น ทั งหมด (รวมปลายข้าว C1) ปลายข้าวขาว C1 เอวัน 10%, 25% 15.0 80.0 5.0 15 5.0 0.5 26 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ค การชักตัวอย่าง (ข้อ 10.1) ค.1 นิยาม ค.1.1 รุ่น (lot) หมายถึง สินค้าที่ส่งมอบมาพร้อมกันในแต่ละครั้ง และตั้งสมมติฐานว่ามีคุณลักษณะ เหมือนกัน เช่น แหล่งก าเนิด ชนิด การบรรจุ ตัวแทนบรรจุ ผู้ส่งมอบ ค.1.2 ตัวอย่างขั้นต้น (primary sample) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการชักตัวอย่างจากต าแหน่งใด ต าแหน่งหนึ่งในรุ่น โดยจ านวนต าแหน่งที่เก็บตัวอย่างขั้นต้นในแต่ละรุ่น ค านวณตามค าแนะน า ในตารางที่ ค.1 และตารางที่ ค.2 ค.1.3 ตัวอย่างรวม (aggregate sample หรือ composite sample) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการรวม ตัวอย่างขั้นต้นในแต่ละรุ่น ค.1.4 ตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ (laboratory sample) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการลดปริมาณตัวอย่าง จากตัวอย่างรวมที่ผสมกันเป็นอย่างดีในแต่ละรุ่นลงอย่างเหมาะสมเพียงพอส าหรับการวิเคราะห์ หรือตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ ค.2 ขั นตอนการปฏิบัติ การชักตัวอย่างสินค้าข้าว ควรด าเนินการเพื่อให้ได้ตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของรุ่นมากที่สุดเท่าที่ จะปฏิบัติได้ โดยชักตัวอย่างขั้นต้นในจ านวนต าแหน่ง ตามความถี่การชักตัวอย่างที่ค านวณได้ และพยายามให้ต าแหน่งกระจายทั่วถึงทั้งรุ่น น าตัวอย่างขั้นต้นที่ได้ทั้งหมดมารวมกัน ผสมให้ เข้ากันดีเป็นตัวอย่างรวม และน าตัวอย่างรวมมาลดปริมาณลงจนเหลือน้ าหนักสองเท่าของ ตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการที่ก าหนด แบ่งตัวอย่างดังกล่าวเป็นสองส่วน บรรจุในถุงปิดสนิทเพื่อ ส่งห้องปฏิบัติการ และเก็บตัวอย่างอีกส่วนที่เหลือไว้เพื่อใช้ในการทวนสอบ กรณีเกิดปัญหา ค.2.1 การชักตัวอย่างสินค้าที่บรรจุในหีบห่อ การระบุความถี่ในการชักตัวอย่างขั้นต้นจากสินค้าในรุ่นที่บรรจุในหีบห่อ ให้ใช้สูตรค านวณ เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดความถี่ในการชักตัวอย่างขั้นต้นต่อรุ่น F(n) ดังนี้ F(n) = mBmI mAmp 27 มกษ. 4004-2560 F(n) คือ ความถี่ในการชักตัวอย่าง ทุกๆ n ถุง เพื่อท าการเก็บตัวอย่างขั้นต้น n คือ จ านวนของหน่วยบรรจุต่อการชักตัวอย่างแต่ละครั้ง mB คือ น้ าหนักของรุ่นสินค้า หน่วยเป็นกิโลกรัม mI คือ น้ าหนักของตัวอย่างขั้นต้น ก าหนด 0.1 kg mA คือ น้ าหนักของตัวอย่างรวม หน่วยเป็นกิโลกรัมโดยทั่วไปใช้ประมาณ 3 kg mp คือ น้ าหนักบรรจุในแต่ละหีบห่อ หน่วยเป็นกิโลกรัม ตารางที่ ค.1 ตัวอย่างของความถี่ในการชักตัวอย่างขั นต้นของสินค้าที่บรรจุในหีบห่อ เพื่อหาตัวแทนไปทดสอบในห้องปฏิบัติการ โดยตัวอย่างที่ชักมีขนาดรุ่นที่ 25, 50 และ 100 ตัน และก าหนดน าหนักตัวอย่างขั นต้น 0.1 kg (ข้อ ค.1.2 และ ค.2.1) น าหนักรุ่นสินค้า (กิโลกรัม) น าหนักต่อหน่วยบรรจุ (กิโลกรัม) ความถี่ในการชักตัวอย่างขั นต้น (เก็บตัวอย่างจากทุกๆ n ถุง) 25,000 1 833 25,000 5 167 25,000 25 33 25,000 40 21 25,000 50 17 50,000 1 1,667 50,000 5 333 50,000 25 67 50,000 40 42 50,000 50 33 100,000 1 3,333 100,000 5 667 100,000 25 133 100,000 40 83 100,000 50 67 หมายเหตุ สามารถชักตัวอย่างขั้นต้นเพิ่มเติมได้ในกรณีที่จ้านวนตัวอย่างรวมมีน้าหนักไม่เพียงพอ หรือไม่ถึง 3 k g หรือไม่พอส้าหรับการวิเคราะห์หรือตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ 28 มกษ. 4004-2560 ค.2.2 การชักตัวอย่างสินค้าจากกอง การตัดสินจ านวนตัวอย่างที่ชักเพื่อไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ จะอยู่ภายใต้ข้อตกลงระหว่าง ผู้เกี่ยวข้อง โดยปริมาณและขนาดของตัวอย่างขั้นต้นแสดงในตารางที่ ค.2 โดยหากน้ าหนักของ ตัวอย่างที่จะส่งห้องปฏิบัติการไม่เป็นไปตามนี้ จ านวนของตัวอย่างขั้นต้นที่ชักจะเพิ่มขึ้น ตารางที่ ค.2 จ านวนจุดชักตัวอย่างขั นต้นส าหรับสินค้าข้าวเป็นกองขนาดใหญ่ (เช่น รถบรรทุก เรือ ตู้รถไฟ โกดังสินค้า) (ข้อ ค.1.2 และ ค.2.2) น าหนักต่อรุ่น (ตัน) น าหนัก ตัวอย่าง ขั นต้น (กรัม) จ านวนจุด ที่ชักตัวอย่าง ขั นต้น (จุด) ปริมาณน้อยที่สุด ที่ใช้ส่งห้องปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อน (กิโลกรัม) ปริมาณตัวอย่าง ที่น้อยที่สุดที่ส่ง ห้องปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะห์อื่นๆ (กิโลกรัม) < 15 400-3,000 3 - อะฟลาทอกซิน: 10 - สารพิษตกค้าง โลหะหนัก และไดออกซิน: 1 - สารปนเปื้อน: 3 1-3 ตามข้อก าหนดใน การวิเคราะห์ >15-30 8 >30-45 11 >45-100 15 >100-300 18 >300-500 20 >500-1,500 25 ค.2.3 การใช้เครื่องมือชักตัวอย่าง วิธีชักตัวอย่าง และวิธีการลดปริมาณตัวอย่างรวม รายละเอียดข้อแนะน าการใช้เครื่องมือชักตัวอย่าง วิธีชักตัวอย่าง และวิธีการลดปริมาณตัวอย่างรวม เพื่อให้ได้ตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ ให้ใช้แนวทางตาม ISO 24333:2009 Cereals and cereal product-Sampling 29 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ง วิธีวิเคราะห์ (ข้อ 10.2) ง.1 การวิเคราะห์ปริมาณแอมิโลส ง.1.1 เครื่องมือ ง.1.1.1 สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ (spectrophotometer) ง.1.1.2 เครื่องชั่ง ที่ชั่งได้ละเอียดถึง 0.0001 g ง.1.1.3 เครื่องปั่นกวนระบบแม่เหล็ก (magnetic stirrer) พร้อมแท่งแม่เหล็ก ง.1.1.4 เครื่องบดเมล็ดข้าวที่บดให้ละเอียดได้ถึง 80 mesh ถึง 100 mesh ง.1.1.5 ขวดแก้วปริมาตร (volumetric flask) ขนาดความจุ 100 ml ง.1.1.6 ปิเปต แบบ volumetric pipette ขนาดความจุ 1 ml, 2 ml, 3 ml, 4 ml, และ 5 ml ง.1.1.7 ปิเปต แบบ measuring pipette ขนาดความจุ 1 ml ถึง 10 ml ง.1.2 สารเคมี ง.1.2.1 เอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol: C2H5OH) 95% ง.1.2.2 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (sodium hydroxide: NaOH) ง.1.2.3 กรดเกลเชียลแอซีติก (glacial acetic acid: CH3COOH) ง.1.2.4 ไอโอดีน (iodine) ง.1.2.5 โพแทสเซียมไอโอไดด์ (potassium iodide: KI) ง.1.2.6 แอมิโลส (potato amylose) มีความบริสุทธิ์ไม่น้อยกว่า 95% ง.1.3 วิธีการเตรียมสารละลาย ง.1.3.1 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 2 N ชั่งโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามข้อ ง.1.2.2 จ านวน 80.0 g ละลายในน้ ากลั่นประมาณ 800 ml ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 1,000 ml ทิ้งไว้ให้เย็น แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 1,000 ml 30 มกษ. 4004-2560 ง.1.3.2 สารละลายกรดแอซีติกเข้มข้น 1 N ละลายกรดเกลเชียลแอซีติกตามข้อ ง.1.2.3 ปริมาตร 60 ml ใส่ลงในน้ ากลั่นประมาณ 800 ml ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 1,000 ml ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 1,000 ml ง.1.3.3 สารละลายไอโอดีน ชั่งไอโอดีนตามข้อ ง.1.2.4 จ านวน 0.20 g และโพแทสเซียมไอโอไดด์ตามข้อ ง.1.2.5 จ านวน 2.00 g ละลายในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml ในขวดแก้วปริมาตรสีชาขนาดความจุ 100 ml ทิ้งไว้ข้ามคืนในที่มืด หรือจนไอโอดีนละลายหมด ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml เก็บสารละลายนี้ไว้ในขวดสีชา ง.1.4 วิธี วิเคราะห์ ง.1.4.1 บดเมล็ดข้าวขาวด้วยเครื่องบดตามข้อ ง.1.1.4 ให้เป็นแป้ง ชั่งแป้งมา 0.1000 + 0.0005 g ใส่ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ตามข้อ ง.1.1.5 ที่แห้งสนิท พยายามไม่ให้แป้ง ติดบริเวณคอขวดแก้ว ง.1.4.2 เติมเอทิลแอลกอฮอล์ 95% ตามข้อ ง.1.2.1 ปริมาตร 1 ml เขย่าเบาๆ เพื่อเกลี่ยแป้งให้ กระจายออก ง.1.4.3 เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามข้อ 3.1 ปริมาตร 9 ml ง.1.4.4 ใส่แท่งแม่เหล็กลงในขวดแก้ว ปั่นกวนตัวอย่างด้วยเครื่องปั่นกวนระบบแม่เหล็ก นาน 10 min ให้เป็นน้ าแป้ง จากนั้นน าแท่งแม่เหล็กออกจากขวดแก้ว แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml ปิดจุก เขย่าให้เข้ากัน ง.1.4.5 เตรียมขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ชุดใหม่ เติมน้ ากลั่นประมาณ 70 ml เติมสารละลาย กรดแอซีติก ตามข้อ ง.1.3.2 ปริมาตร 2 ml และสารละลายไอโอดีน ตามข้อ ง.1.3.3 ปริมาตร 2 ml ง.1.4.6 ดูดน้ าแป้งตามข้อ ง.1.4.4 ปริมาตร 5 ml ใส่ในขวดแก้วปริมาตรที่เตรียมไว้ตามข้อ ง.1.4.5 ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml ปิดจุก เขย่าให้เข้ากัน แล้วตั้งทิ้งไว้ 10 min ง.1.4.7 วัดความเข้มของสีของสารละลายตามข้อ ง.1.4.6 ด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ โดยอ่านเป็น ค่าการดูดกลืนแสง (absorbance) ที่ความยาวคลื่นแสง 620 nm หลังปรับเครื่องด้วย blank ให้ได้ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับศูนย์ ง.1.4.8 ท า blank โดยเติมสารละลายกรดแอซีติกตามข้อ ง.1.3.2 ปริมาตร 2 ml และสารละลาย ไอโอดีน ตามข้อ ง.1.3.3 ปริมาตร 2 ml ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml ง.1.4.9 น าค่าการดูดกลืนแสง ไปหาปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) โดยเทียบกับกราฟมาตรฐาน ที่เตรียมไว้ตาม ข้อ ง.1.5 31 มกษ. 4004-2560 ง.1.4.10 ปรับปริมาณแอมิโลสในแป้งข้าวที่วิเคราะห์ได้ให้เป็นที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก จากสูตร ปริมาณแอมิโลสในแป้งข้าวที่ความชื้น 14% โดยน้ าหนัก = A x 86 100 – M เมื่อ A = ปริมาณแอมิโลสในแป้งข้าวที่วิเคราะห์ได้เป็นเปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก M = ปริมาณความชื้นของแป้งข้าวที่วิเคราะห์ได้เป็นเปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก ง.1.5 การเขียนเส้นกราฟมาตรฐาน ง.1.5.1 ชั่งแอมิโลส 0.0400 g ใส่ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ตามข้อ ง.1.1.5 ที่แห้งสนิท แล้วด าเนินการเช่นเดียวกับตัวอย่างตามข้อ ง.1.4.2 ถึง ข้อ ง.1.4.4 และใช้เป็นสารละลายมาตรฐาน ง.1.5.2 เตรียมขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml จ านวน 5 ขวด เติมน้ ากลั่นขวดละ 70 ml เติมสารละลายกรดแอซีติกตามข้อ ง.1.3.2 ปริมาตร 0.4 ml ในขวดที่ 1 ปริมาตร 0.8 ml ในขวดที่ 2 ปริมาตร 1.2 ml ในขวดที่ 3 ปริมาตร 1.6 ml ในขวดที่ 4 และปริมาตร 2.0 ml ในขวดที่ 5 ตามล าดับ แล้วเติมสารละลายไอโอดีน ตามข้อ ง.1.3.3 ปริมาตร 2 ml ลงในแต่ละขวด ง.1.5.3 ดูดสารละลายมาตรฐานตามข้อ ง.1.5.1 ปริมาตร 1 ml, 2 ml, 3 ml, 4 ml และ 5 ml ซึ่งเทียบเท่าปริมาณแอมิโลส 8%, 16%, 24%, 32% และ 40% โดยน้ าหนัก ตามล าดับ ใส่ในขวด ที่เตรียมไว้ในข้อ ง.1.5.2 ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml และวัดค่าการดูดกลืนแสง ที่ความยาวคลื่นแสง 620 nm หลังปรับเครื่องด้วย blank ให้ได้ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับศูนย์ เช่นเดียวกับข้อ ง.1.4.7 ง.1.5.4 น าค่าการดูดกลืนแสงกับปริมาณแอมิโลสในสารละลายมาตรฐานตามข้อ ง.1.5.3 มาเขียนเป็น เส้นกราฟมาตรฐาน ง.1.5.5 น าเส้นกราฟมาตรฐานที่ได้ตามข้อ ง.1.5.4 มาใช้แปลงค่าการดูดกลืนแสงให้เป็นปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) ง.2 การวิเคราะห์ปริมาณความชื นด้วยการอบในตู้อบลมร้ อน ง.2.1 เครื่องมือ ง.2.1.1 ตู้อบ (oven) ง.2.1.2 เครื่องชั่งที่ชั่งได้ละเอียดถึง 0.0001 g ง.2.1.3 เดซิกเคเตอร์ (desiccator) พร้อมซิลิกาเจล (siliga gel) ง.2.1.4 เครื่องบดเมล็ดข้าวที่บดให้ละเอียดได้ถึง 80 mesh ถึง 100 mesh ง.2.1.5 ถ้วยอบอะลูมิเนียมพร้อมฝาปิด ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 cm หรือมากกว่า 32 มกษ. 4004-2560 ง.2.2 วิธีวิเคราะห์ ง.2.2.1 บดเมล็ดข้าวขาวด้วยเครื่องบดตามข้อ ง.2.1.4 ให้เป็นแป้ง ง.2.2.2 เปิดฝาถ้วยอะลูมิเนียมตามข้อ ง.2.1.5 โดยเอาฝาซ้อนไว้ใต้ถ้วยแล้วน าไปอบในตู้อบตามข้อ ง.2.1.1 ที่อุณหภูมิ 130 ± 3 C เป็นเวลา 2 h ปิดฝาถ้วย แล้วทิ้งให้เย็นในเดซิกเคเตอร์ชั่งน้ าหนัก ที่แน่นอนทศนิยม 4 ต าแหน่งและบันทึกไว้ ง.2.2.3 ชั่งแป้งตามข้อ ง.2.2.1 น้ าหนักประมาณ 1 g ใส่ในถ้วยอะลูมิเนียมตามข้อ ง.2.2.2 แล้วบันทึก น้ าหนักที่แน่นอนทศนิยม 4 ต าแหน่ง ง.2.2.4 อบถ้วยแป้งตามข้อ ง.2.2.3 ในตู้อบที่อุณหภูมิ 130 ± 3 C โดยเปิดฝาไว้เป็นเวลา 2 h แล้วปิดฝา ทิ้งไว้ให้เย็นในโถดูดความชื้น ชั่งให้ได้น้ าหนักที่แน่นอนและบันทึกไว้ ง.2.2.5 ค านวณหาปริมาณความชื้น (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) จากสูตร ปริมาณความชื้น (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก)= (B - C) x 100 (B - A) เมื่อ A = น้ าหนักถ้วยอะลูมิเนียมพร้อมฝา (กรัม) B = น้ าหนักถ้วยอะลูมิเนียมพร้อมฝาและแป้งก่อนอบ (กรัม) C = น้ าหนักถ้วยอะลูมิเนียมพร้อมฝาและแป้งหลังอบ (กรัม) ง.3 การวิเคราะห์ปริมาณความชื นด้วยเครื่องวัดความชื นแบบวัดปริมาณ ความจุไฟฟ้า (Electrical Capacitance Type) ใช้เครื่องวัดความชื้นแบบวัดปริมาณความจุไฟฟ้า ที่ผ่านการรับรองจากส านักชั่งตวงวัด กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ และเป็นไปตามพระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ.2542 ง.4 การตรวจสอบวัตถุอื่นปนในข้าวเปลือก ง.4.1 เครื่องมือ ง.4.1.1 เครื่องท าความสะอาดโดยใช้ลม ง.4.1.2 ตะแกรงร่อน 33 มกษ. 4004-2560 ง.4.2 วิธีวิเคราะห์ ง.4.2.1 ชักตัวอย่างข้าวเปลือก ชั่งน้ าหนัก ประมาณ 100 g และบันทึก ง.4.2.2 น าตัวอย่างข้าวดังกล่าว ผ่านตะแกรงร่อนเพื่อแยกสิ่งเจือปนที่หนัก เช่น เศษดิน ทราย กรวด และเมล็ดที่แตกหัก ออก ง.4.2.3 น าตัวอย่างที่ผ่านตะแกรงร่อน เข้าเครื่องเป่าท าความสะอาด เพื่อแยกสิ่งเจือปนที่มีน้ าหนักเบา เช่น เศษฟาง ระแง้ และข้าวลีบ ออก ง.4.2.4 หากยังมีสิ่งเจือปนเหลืออยู่ แยกด้วยสายตาอีกครั้ง บันทึกน้ าหนักข้าวเปลือกที่สะอาดแล้ว ค านวณปริมาณสิ่งเจือปน ดังนี้ เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของสิ่งเจือปน = (น้ าหนักข้าวเปลือก+วัตถุอื่น) – น้ าหนักข้าวเปลือก x100 (น้ าหนักข้าวเปลือก+วัตถุอื่น) ง.5 การตรวจสอบคุณภาพการขัดสี (วิธีนี ใช้เฉพาะข้าวเปลือกที่มีความชื นไม่เกิน 15%) ง.5.1 เครื่องมือ ง.5.1.1 เครื่องท าความสะอาดโดยใช้ลม ง.5.1.2 เครื่องกะเทาะข้าวเปลือก ง.5.1.3 เครื่องขัดขาว ง.5.1.4 เครื่องคัดแยกข้าวหัก ง.5.2 วิธีวิเคราะห์ ง.5.2.1 ท าความสะอาดข้าวเปลือก ด้วยเครื่องท าความสะอาดโดยใช้ลม เพื่อก าจัดเมล็ดลีบ ระแง้ และวัตถุอื่น (วัตถุหนักควรเลือกออกด้วยมือ) ง.5.2.2 ชั่งข้าวเปลือกที่ท าความสะอาดแล้ว 125 g ง.5.2.3 กะเทาะข้าวเปลือกด้วยเครื่องกะเทาะ จนเปลือกออกหมด ชั่งน้ าหนักข้าวกล้อง และบันทึก ง.5.2.4 ขัดข้าวกล้องด้วยเครื่องขัดขาว วิธีการตามค าแนะน าในการใช้เครื่องแต่ละรุ่น ทิ้งข้าวขาวไว้ให้เย็น ชั่งน้ าหนัก และบันทึก ง.5. 2.5 น าข้าวขาวทั้งหมดไปแยกข้าวหักออกจากข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าว ด้วยเครื่องคัดแยกข้าวหัก ง.5.2.6 เมื่อข้าวผ่านตะแกรงหมดแล้ว ต้องคัดเลือกข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าวและข้าวหักด้วยวิธีตรวจพินิจอีกครั้ง ง.5.2.7 ชั่งน้ าหนักข้าวเต็มเมล็ด/ต้นข้าว และบันทึก 34 มกษ. 4004-2560 ง.5.2.8 น าน้ าหนักข้าวเปลือก ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว ไปค านวณหาปริมาณแกลบ ร า และข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) ดังต่อไปนี้ เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของแกลบ = น้ าหนักข้าวเปลือก – น้ าหนักข้าวกล้อง X 100 น้ าหนักข้าวเปลือก เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของร า = น้ าหนักข้าวกล้อง – น้ าหนักข้าวขาว X 100 น้ าหนักข้าวเปลือก เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว = น้ าหนักข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว X 100 น้ าหนักข้าวเปลือก หมายเหตุ การใช้เครื่องกะเทาะข้าวเปลือก และเครื่องขัดขาวติดต่อกันนานๆ จะท้าให้เครื่องร้อน จึงควรพักเครื่องทุกๆ 10 ตัวอย่าง ง.6 การวิเคราะห์ค่าการสลายเมล็ดข้าวในด่าง การวิเคราะห์ค่าการสลายเมล็ดข้าวในต่าง เพื่อการตรวจสอบสินค้าข้าวเปลือกและข้าวกล้อง ต้องน าไปขัดสีเป็นข้าวขาวก่อน ง.6.1 เครื่องมือ ง.6.1.1 เครื่องชั่ง ที่ชั่งได้ละเอียดถึง 0.0001 g ง.6.1.2 ตู้อบ (oven) ง.6.1.3 ขวดแก้วปริมาตร (volumetric flask) ขนาดความจุ 1,000 ml ง.6.1.4 จานพลาสติกใสพร้อมฝาปิด (petri dish) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14.5 cm ง.6.1.5 บีกเกอร์แก้ว (beaker) ขนาด 1 L ถึง 2 L ง.6.1.6 เดซิกเคเตอร์ (desiccator) พร้อมซิลิกาเจล (silica gel) ง.6.2 สารเคมี ง.6.2.1 โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (potassium hydroxide: KOH) 85% ง.6.2.2 โพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท (potassium hydrogen phthalate: C8H5KO4) ง.6.2.3 ฟีนอล์ฟทาลีน (phenolphthalein: C20H14O4) 35 มกษ. 4004-2560 ง.6.3 การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1.7%  0.05% ง.6.3.1 การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ อาจท าได้ 2 วิธี ก) การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์โดยตรง ชั่งโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 20.00 g ละลายในน้ ากลั่นที่ผ่านการต้มให้เดือดแล้วปิดฝา ทิ้งไว้ ให้เย็น เติมน้ ากลั่นเพื่อปรับปริมาตรให้เป็น 1,000 ml ข) การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์จาก stock solution (1) ชั่งโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 600.00 g ละลายในน้ ากลั่นที่ผ่านการต้มให้เดือดแล้ว ปิดฝาทิ้งไว้ให้เย็น เติมน้ ากลั่นเพื่อปรับปริมาตรเป็น 1,000 ml เก็บไว้เป็น stock solution ส าหรับเจือจางต่อไป (2) น า stock solution จากข้อ ง.6.3.1 ข(1) ปริมาตร 33 ml มาเจือจางด้วยน้ ากลั่นให้ได้ ปริมาตร 1,000 ml ส าหรับใช้เป็นสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ง.6.3.2 การหาความเข้มข้นของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ก) อบสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลทที่อุณหภูมิ 130+3C เป็นเวลา 1 h แล้วทิ้งไว้ให้เย็น ในเดซิกเคเตอร์ ข) ชั่งสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลทตามข้อ ง.6.3.2 ก) ประมาณ 0.5 g โดยอ่านให้ได้ น้ าหนักที่แท้จริงทศนิยม 4 ต าแหน่ง และบันทึกไว้ ค) ละลายสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลทตามข้อ ง.6.3.2 ข) ในน้ ากลั่นปริมาตร 50 ml หยดสารละลายฟีนอล์ฟทาลีน เข้มข้น 0.1% ลงไป 3 หยด ไทเทรตกับสารละลายโพแทสเซียม ไฮดรอกไซด์จนสารละลายเปลี่ยนจากไม่มีสีเป็นสีชมพู และบันทึกปริมาตรของสารละลาย โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ไปเป็นมิลลิลิตร ง) ท า blank ตามวิธีการเดียวกับข้อ ง.6.3.2 ค) โดยไม่ใช้สารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท จ) ค านวณหา ความเข้มข้นของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ดังนี้ เปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ = P x 56.109 x 100 204.23 V - B เมื่อ V = ปริมาตรของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ในการไทเทรตกับ โพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท (มิลลิลิตร) B = ปริมาตรของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ไทเทรตกับ blank (มิลลิลิตร) P = น้ าหนักของสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท (กรัม) 36 มกษ. 4004-2560 ง.6.4 วิธีวิเคราะห์ ง.6.4.1 ชักเมล็ดข้าวขาวมา 100 เมล็ด แบ่งใส่ในจานพลาสติกใสตามข้อ ง.6.1.4 จ านวน 4 จาน จานละ 25 เมล็ด แล้ววางบนพื้นราบสีด า ง.6.4.2 เติมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ตามข้อ ง.6.3 ลงในจานพลาสติกตามข้อ ง.6.4.1 ประมาณจานละ 100 ml ให้เมล็ดข้าวทุกเมล็ดจมอยู่ในสารละลาย และให้แต่ละเมล็ดอยู่ห่างกัน พอสมควร แล้วปิดฝาทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง (30 + 5 C) โดยไม่ขยับเขยื้อนเป็นเวลา 23 h ง.6.4.3 ตรวจเมล็ดข้าวตามข้อ ง.6.4.2 โดยพิจารณาระดับการสลายของเมล็ดข้าวในด่างแต่ละเมล็ด ตามลักษณะการสลายตามตารางที่ ง.1 ง.6.5 การวินิจฉัย เมล็ดข้าวที่มีระดับการสลายในด่าง ตั้งแต่ระดับ 1 ถึงระดับ 5 เป็นเมล็ดข้าวที่ไม่ใช่ข้าวไทยกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม ตารางที่ ง.1 ระดับของการสลายของเมล็ดข้าวในด่างแต่ละเมล็ด (ข้อ ง.6.4.3) ระดับการสลายของเมล็ดข้าว ภาพลักษณะการสลายของเมล็ดข้าว ลักษณะของเมล็ดข้าวที่สลายในด่าง 1 ลักษณะของเมล็ดข้าวไม่เปลี่ยนแปลงเลย 2 เมล็ดข้าวพองตัว 3 เมล็ดข้าวพองตัวและมีแป้งกระจาย ออกมาจากบางส่วนของเมล็ดข้าว 4 เมล็ดข้าวพองตัวและมีแป้งกระจาย ออกมารอบเมล็ดข้าวเป็นบริเวณกว้าง 37 มกษ. 4004-2560 ระดับการสลายของเมล็ดข้าว ภาพลักษณะการสลายของเมล็ดข้าว ลักษณะของเมล็ดข้าวที่สลายในด่าง 5 ผิวของเมล็ดข้าวปริทางขวางหรือทางยาว และมีแป้งกระจายออกมารอบเมล็ดเป็น บริเวณกว้าง 6 เมล็ดข้าวสลายตัวตลอดทั้งเมล็ด มีลักษณะเป็นเมือกขุ่นขาว 7 เมล็ดข้าวสลายตัวทั้งเมล็ดและมีลักษณะ เป็นแป้งเมือกใส ง.7 วิธีการย้อมสีด้วยสารละลายไอโอดีน การวิเคราะห์โดยวิธีการย้อมสี เพื่อการตรวจสอบข้าวเปลือกและข้าวกล้อง ต้องน าไปขัดสีเป็น ข้าวขาวก่อน ง.7.1 เครื่องมือ ง.7.1.1 บีกเกอร์แก้ว (beaker) ขนาด 100 ml หรือ ถ้วยพลาสติกใสที่มีขนาดใกล้เคียงกัน ง.7.1.2 หลอดหยด (dropper) พลาสติก ขนาด 1 ml ง.7.1.3 ขวดปริมาตร (volumetric flask) ขนาด 100 ml และ 2,000 ml ง.7.1.4 ปิเปต (pipette) ขนาดความจุอ่านได้ 1 ml ถึง 10 ml ง.7.1.5 ขวดใส่สารละลายสีชา ขนาดประมาณ 100 ml ง.7.1.6 กระบอกตวง (cylinder) ขนาด 50 ml ง.7.1.7 ปากคีบ (forcep) ง.7.1.8 กระดาษทิชชู หรือกระดาษซับ ง.7.1.9 เครื่องชั่งอ่านได้ละเอียด 0.01 g 38 มกษ. 4004-2560 ง.7.2 สารเคมี ง.7.2.1 โซเดียมไฮดรอกไซด์ (sodiumhydroxide: NaOH) ง.7.2.2 กรดเกลเซียลแอซีติก (glacial acetic acid: CH3COOH) ง.7.2.3 ไอโอดีน (iodine: I2) ง.7.2.4 โพแทสเซียมไอโอไดด์ (potassiumiodide: KI) ง.7.2.5 ไอโซโปรปิลแอลกอฮอส์ (isopropyl alcohol) 70% ง.7.2.6 น้ ากลั่นหรือน้ ากรองที่มีคุณภาพส าหรับใช้ในห้องปฏิบัติการ ง.7.3 วิธีการเตรียมสารละลาย ง.7.3.1 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1 N ละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามข้อ ง.7.2.1 จ านวน 4.00 g ในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml ในขวดปริมาตร 100 ml ทิ้งให้เย็น แล้วปรับปริมาตรให้เป็น 100 ml ง.7.3.2 สารละลายกรดแอซีติก เข้มข้น 1 N ตวงกรดเกลเซียลแอซีติกตามข้อ ง.7.2.2 ปริมาตร 6 ml ใส่ลงในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml ง.7.3.3 working solution ผสมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1 N ตามข้อ ง.7.3.1 ปริมาตร 10 ml กับสารละลาย กรดแอซีติก เข้มข้น 1 N ตามข้อ ง.7.3.2 ปริมาตร 10 ml แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 2,000 ml ง.7.3.4 สารละลายไอโอดีน: ชั่งไอโอดีนตามข้อ ง.7.2.3 จ านวน 0.20 g และโพแทสเซียมไอโอไดด์ตามข้อ ง.7.2.4 จ านวน 2.00 g ละลายในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ทิ้งไว้ ข้ามคืนในที่มืด หรือจนไอโอดีนละลายหมด ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml เก็บสารละลายนี้ไว้ในขวดสีชา หมายเหตุ สารละลายไอโอดีนนี้ไม่ควรเก็บนานเกิน 2 เดือน 39 มกษ. 4004-2560 ง.7.4 วิธีวิเคราะห์ ง.7.4.1 การเตรียมสารละลายส าหรับย้อมสีเมล็ดข้าว (1) ตวงสารละลาย working solution ตามข้อ ง.7.3.3 ปริมาตร 30 ml (2) เติมสารละลายไอโอดีน ตามข้อ ง.7.3.4 จ านวน 1.5 ml คนให้เข้ากัน สารละลายที่ได้ จะใช้ส าหรับย้อมสีเมล็ดข้าว (ควรย้อมทันที) ง.7.4.2 วิธีการย้อมสีเมล็ดข้าว (1) ชักตัวอย่างข้าวขาว 3.0 g ใส่ในบีกเกอร์ ขนาด 100 ml หรือ ถ้วยพลาสติกใสที่มีขนาด ใกล้เคียงตามข้อ ง.7.1.1 (2) เติมไอโซโปรปิลแอลกอฮอล์ 70% ตามข้อ ง.7.2.5 ปริมาตร 15 ml แกว่งบีกเกอร์ หรือ ถ้วยพลาสติกใส นาน 45 s แล้วรินแอลกอฮอล์ทิ้ง (แอลกอฮอล์ที่ใช้แล้วควรรวบรวมไว้ ในขวดปิดฝา) (3) เติมน้ ากลั่น ปริมาตร 15 ml แกว่งนาน 30 s แล้วรินน้ าทิ้ง (4) เติมสารละลายส าหรับย้อมสีเมล็ดข้าว ตามข้อ ง.7.4.1 ปริมาตร 15 ml แกว่งนาน 45 s แล้วรินสารละลายทิ้ง (5) เติมน้ าปริมาตร 15 ml รินน้ าทิ้งจนแห้ง (6) เทเมล็ดข้าวลงบนกระดาษทิชชู หรือ กระดาษซับ ตามข้อ ง.7.1.8 เอากระดาษทิชชูอีกแผ่น มาซับด้านบน แล้วพลิกกลับ เพื่อเขี่ยเมล็ดข้าวลงบนกระดาษทิชชูแผ่นหลัง ปล่อยให้ข้าวแห้ง นานประมาณ 5 min (7) คัดแยกเมล็ดข้าวด้วยปากคีบ ตามข้อ ง.7.1.7 แยกออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เมล็ดข้าวติดสีชมพูอ่อนถึงไม่ติดสี เป็นข้าวแอมิโลสต่ าอยู่ในกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม เช่น ข้าวพันธุ์ กข39 กข43 กข51 ส่วนที่ 2 เมล็ดข้าวติดสีน้ าเงินหรือม่วงเข้ม เป็นข้าวแอมิโลสปานกลาง หรือแอมิโลสสูง ในกลุ่มข้าวเจ้าร่วน หรือข้าวเจ้าแข็ง เช่น ข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 ชัยนาท1 (8) น าข้าวที่คัดแยกได้ไปชั่งน้ าหนักทั้ง 2 ส่วน (9) ค านวณหาเปอร์เซ็นต์ข้าวกลุ่มอื่นปนในข้าวกลุ่มข้าวเจ้าประเภทนุ่ม เปอร์เซ็นต์ข้าวกลุ่มอื่นปน = น้ าหนักข้าวส่วนที่ 2 X 100 น้ าหนักข้าวส่วนที่ 1 + น้ าหนักข้าวส่วนที่ 2 40 มกษ. 4004-2560 ง.8 การวิเคราะห์ปริมาณข้าวอื่นปนโดยวิธีการต้มส าหรับการตรวจสอบเบื องต้น วิธีตรวจสอบเมล็ดข้าวสุกต้มในน้ าเดือด เป็นวิธีการตรวจสอบเบื้องต้นอย่างง่าย เพื่อเป็นแนวทาง ในการบ่งชี้เท่านั้น ง.8.1 เครื่องมือ ง.8.1.1 หม้อต้มน้ าไฟฟ้า ง.8.1.2 ตะกร้าตะแกรงลวดไร้สนิม ง.8.1.3 ช้อนหรือพายส าหรับเขี่ยเมล็ดข้าว ง.8.1.4 กระจกส าหรับกดเมล็ดข้าว 2 แผ่น ง.8.2 วิธีวิเคราะห์ ง.8.2.1 ชักเมล็ดข้าวขาวมา 100 เมล็ดใส่ในตะกร้า ง.8.2.2 ต้มน้ ากลั่นด้วยหม้อต้มน้ าไฟฟ้าให้เดือดเต็มที่ ง.8.2.3 หย่อนตะกร้าพร้อมเมล็ดข้าวขาวลงต้มในน้ าเดือดตามข้อ ง.8.2.2 เป็นเวลาที่ได้จากการเทียบ ค่าการสลายเมล็ดข้าวในด่าง ในระหว่างนั้นระวังอย่าให้เมล็ดข้าวเกาะติดกัน ง.8.2.4 เมื่อต้มครบตามเวลาที่ได้จากการเทียบค่าตามข้อ ง.8.2.3 แล้วให้ยกตะกร้าขึ ้นจากน้ าเดือด จุ่มลงในน้ าเย็นที่เตรียมไว้ทันทีแล้วยกขึ้นให้สะเด็ดน้ า ง.8.2.5 เทเมล็ดข้าวในตะกร้าลงบนกระจก เกลี่ยเมล็ดข้าวให้กระจาย น ากระจกอีกแผ่นมาวางทับเมล็ดข้าว และกดให้แบน เพื่อตรวจดูภายในของเมล็ดข้าวทั้ง 100 เมล็ด ถ้าปรากฏว่าข้าวเมล็ดใดยังเป็นไต โดยมีลักษณะเป็นจุดขุ่นขาวของแป้งดิบปรากฏภายในเมล็ด ให้ถือว่าเป็นข้าวที่ยังไม่สุกสมบูรณ์ ง.8.3 การวินิจฉัย เมล็ดข้าวที่ยังไม่สุกสมบูรณ์ ให้ถือว่าเป็นข้าวที่ไม่ใช่ข้าวไทยกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม 41 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก จ ภาพตัวอย่างข้าวที่อาจมีปนได้ ภาพที่ จ.1 ลักษณะเมล็ดข้าวที่อาจมีปนได้ ก. ข้าวเมล็ดเหลือง ข. ข้าวเมล็ดเสีย ค. ข้าวเมล็ดขัดสีต่ ากว่ามาตรฐาน ง. ข้าวเมล็ดท้องไข่ ข ก ค ง 42 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ฉ หน่วย หน่วยและสัญลักษณ์ที่ใช้ในมาตรฐานนี้ และหน่วย SI (International System of units หรือ Le Système International d’ Unités) ที่ยอมรับให้ใช้ได้ มีดังนี้ รายการ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์หน่วย มวล กิโลกรัม (kilogram) kg กรัม (gram) g ปริมาตร ลิตร (liter) L มิลลิลิตร (milliliter) ml ความยาว เซนติเมตร (centimeter) cm มิลลิเมตร (millimeter) mm นาโนเมตร (nanometer) nm เวลา วินาที (second) s นาที (minute) min ชั่วโมง (hour) h อุณหภูมิ องศาเซลเซียส (degree Celsius) C ความเข้มข้นของ สารละลาย นอร์แมลลิตี (normality) N องค์ความรู้กับการปลูกข้าว ณ โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท ผู้เรียบเรียง : จุฬาลักษณ์ ตลับนาค 1 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท ค าน า “องค์ความรู้กับการปลูกข้าว” หนังสือเล่มนี้จัดท าขึ้นเพื่อเกษตรกรชาวนามือใหม่ หรือผู้สนใจ เกี่ยวกับการปลูกข้าวโดยใช้วิถีธรรมชาติ ใช้สมุนไพรและสิ่งของที่อยู่รอบตัวน ามาใช้ในการจัดการผลิตข้าว และ จัดท าขึ้นเพื่อเกษตรกรชาวนาที่ต้องการจะปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวแบบดั้งเดิมที่มีการใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืช หันมาใช้สมุนไพร ชีวผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติในการจัดการผลิตข้าว นอกจากนี้ยังแนะแนวทางในการด าเนิน ชีวิตของเกษตรกรให้มีวิถีชีวิตแบบพอเพียง ประหยัด ลดต้นทุนในการท านาและการด ารงชีวิต คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ใหญ่สุนทร มณฑา คุณเสรี กล่ าน้อย และวิทยากรจาก ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จ.ชัยนาท ศูนย์วิจัยข้าว จ.ชัยนาท และ อ.สุวัฒน์ ทรัพยะ ประภา ที่ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้กับนักเรียนเกษตรกรชาวนา คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่ให้การสนับสนุนการจัดท าโครงการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ เรื่องข้าว ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.สถาพร ถาวรอธิวาสน์ ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท ที่ให้ค าปรึกษา แนะน า ในการจัดท าโครงการและหนังสือเล่มนี้ คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณผู้ใหญ่สุนทร มณฑา ผู้เอื้อเฟื้อสถานที่ในการจัดท าโครงการถ่ายทอดองค์ ความรู้ฯ เรื่องข้าว คณะผู้จัดท าหวังว่าหนังสือองค์ความรู้กับการปลูกข้าวเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์และให้ความรู้กับผู้อ่าน ทุกท่านได้เป็นอย่างดี หากผิดพลาดประการใดคณะผู้จัดท าขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้ จัดท า ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท 1 สิงหาคม 2562 2 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท สารบัญ เรื่อง หน้า องค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกข้าว................................................................................................................... 3 ขบวนการเจริญเติบโตของพืช ................................................................................................................. 3 การย่อยสลายทางชีวภาพ ....................................................................................................................... 5 ธาตุอาหารที่จ าเป็นส าหรับพืช ................................................................................................................. 5 หลักของการเรียนรู้ในชีวิต ....................................................................................................................... 7 อิทธิพลและปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตข้าว ................................................................................................ 8 ศัตรูพืชของข้าวที่พบในแต่ละระยะ ......................................................................................................... 9 การป้องกันก าจัดศัตรูพืชข้าวโดยชีววิธี .................................................................................................... 10 ภาคผนวก .................................................................................................................................................... 11 ขั้นตอนการเตรียมการก่อนปลูก .............................................................................................................. 12 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการก าจัดศัตรูพืช ..................................................................................................... 14 3 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท องค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกข้าว ลักษณะของใบข้าวที่ดีต้องมีใบสีเขียว ตั้งชู สู้แสง แสงมีความจ าเป็นส าหรับพืชทุกชนิดรวมถึงข้าว ซึ่ง สิ่งที่อยู่ในขบวนการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ขบวนการเจริญเติบโตของพืช 1. การสังเคราะห์แสง (Phytosynthesis) คือกระบวนการสร้างอาหารของพืช เพื่อเลี้ยงตัวเอง วัตถุประสงค์ของการสังเคราะห์แสงของพืช เพื่อให้ 1. พืชด ารงชีวิตอยู่ได้ 2. เพื่อให้ผลผลิต 3. เพื่อสภาพแวดล้อม และ 4. เพื่อให้มนุษย์มีอากาศบริสุทธิ์ หายใจ พืชที่มีสีเขียวจะสังเคราะห์แสงได้ โดยจะเกิดปฏิกิริยา ดังสมการ แสง CO2 + H2O น้ าตาล/กลูโคส/แป้ง + O2. Chlorophyll โดยปฏิกิริยาเหล่านี้จะเกิดในคลอโรพลาสต์ (chloroplast) ในเซลล์พืช โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์เปลี่ยน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และไฮโดรเจน (H) จากน้ าให้กลายเป็นสารประกอบประเภทคาร์โบไฮเดรต และมีก๊าซออกซิเจน (O2) เกิดขึ้นจากภาพที่ 1 แสดงการสังเคราะห์แสงของพืช ซึ่งเกิดในคลอโรพลาสต์ใน เซลล์พืชในคลอโรพลาสต์จะมีรงควัตถุ (สารที่สามารถดูดกลืนแสงได้) ซึ่งคลอโรฟิลล์เป็นรงควัตถุที่พบบนใบไม้ สามาถดูดกลืนแสงสีม่วง แดง น้ าเงิน (ความย าวคลื่น 400-700 นาโนเมตร) ได้ดี แต่สะท้อนแสงสีเขียวจึงท าให้ เราเห็นใบไม้เป็นสีเขียว ภาพที่ 1 การสังเคราะห์แสงของพืช CO2 CO2 CO2CO2 H2O คลอโรฟิลล์ดูดพลังงานแสง จากดวงอาทิตย์ 4 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท ผลพลอยได้จากการสังเคราะห์แสง จะได้น้ าตาล น้ าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ซึ่งประโยชน์ ของน้ าตาลที่ได้จากการสังเคราะห์แสงของพืช คือ น้ าตาลจะไปช่วยเรื่องโครงสร้างของพืช เช่น เป็น ส่วนประกอบของ Cellulose Hemicellulose และ Lignin นอกจากนี้ยังช่วยเรื่องการสะสมอาหารในพืช ท า ให้พืชมีน้ าตาล แป้ง ไขมัน กรดอินทรีย์ต่าง ๆ ที่เพียงพอต่อการสร้างผลผลิต 2. การหายใจ (Respiration) การหายใจของพืชจะท าให้พืชปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้ า และพลังงานออกมา ดังสมการ น้ าตาลกลูโคส + ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ + น้ า + พลังงาน C6H12O6 + O2 CO2 + H2O + ATP 3. การสังเคราะห์โปรตีน การสังเคราะห์แสงจะท าให้เกิดการสังเคราะห์โปรตีนในเซลล์พืชเกิดขึ้น ดังสมการ ไนโตรเจน + กรดอินทรีย์ กรดอะมิโน S + N + CHO CHON + S กรดอะมิโนที่ได้จะต่อเรียงกันเป็นสาย เรียกว่า โปรตีน ท าหน้าที่แบ่งเซลล์ ขยายขนาดเซลล์ ส่งผลต่อการเจริญ ของยอดเจริญพืช และเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชทั้งหมด 4. การคายน า คือ การไหลของน้ าจากดินผ่านเข้าทางรากออกสู่อากาศทางปากใบ ช่วยพืชในเรื่องของการระบาย ความร้อน และเคลื่อนย้ายน้ าและแร่ธาตุ ดังภาพที่ 2 ภาพที่ 2 แสดงการคายน้ าของพืช H2O และ แร่ธาตุ ไอน า ไอน า 5 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท การย่อยสลายทางชีวภาพ เป็นกระบวนการท าให้สิ่ง ๆ นั้นเล็กลงหรือหายไป เป็นการเปลี่ยนอินทรียวัตถุให้สิ่งมีชีวิตสามารถ น าไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ในเซลล์ได้ ธาตุอาหารที่จ าเป็นส าหรับพืช ธาตุอาหารที่พืชต้องการมี 16 ธาตุ แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และ ธาตุอาหารเสริม นอกจากนี้ยังมีอีก 3 ธาตุ ที่อยู่ในอากาศ คือ คาร์บอนไดออกไซด์ (C) ไฮโดรเจน (H) และ ออกซิเจน (O) ดังแสดงในภาพที่ 3 และ 4 แสดงถึงหน้าที่และความส าคัญของธาตุอาหารแต่ละธาตุที่มีต่อพืช 1. ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารหลักที่จ าเป็นส าหรับพืช ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และ โพแทสเซียม (K) ธาตุ เหล่านี้จ าเป็นส าหรับพืช ขาดไม่ได้ ซึ่งธาตุต่าง ๆ ก็จะท าหน้าที่ในการส่งเสริมพืชแตกต่างกันไป ไนโตรเจนจะ ท าหน้าที่สร้างต้น กิ่ง ก้าน ใบ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต ฟอสฟอรัสจะท าหน้าที่ในกระบวนการ สังเคราะห์แสง สร้างราก สร้างเมล็ด โพแทสเซียมจะท าหน้าที่ในการสร้างแป้ง น้ าตาล เคลื่อนย้ายธาตุอาหาร หยุดการท างานของไนโตรเจน 2. ธาตุอาหารรอง เป็นธาตุอาหารที่พืชไม่ต้องการในปริมาณมาก แต่ก็ขาดไม่ได้ ได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และ ซัลเฟอร์ (S) 3. ธาตุอาหารเสริม เป็นธาตุอาหารที่พืชไม่ต้องการในปริมาณมาก แต่ก็น้อยกว่าธาตุอาหารรอง และขาดไม่ได้เช่นกัน ได้แก่ เหล็ก (Fe) ทองแดง (Cu) นิเกิล (Ni) ซิลิกอน (Si) สังกะสี (Zn) โบรอน (B) โคบอล (Co) แมงกานีส (Mn) โมลิบดีนัม (Mo) และ คลอรีน (Cl) การน าธาตุอาหารไปใช้ ก่อนอื่นควรรู้จักกับค าว่า เรโช (Ratio) ของปุ๋ย คือ การน าธาตุอาหารหลักไนโตรเจนรวมกับ ฟอสฟอรัสรวมกับโพแท สเซียม ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งเรียกว่า ปุ๋ยผสม ดังตัวอย่าง ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) 16 8 8 46 0 0 0 0 60 18 46 0 นอกจากนี้เกษตรกรสามารถผสมปุ๋ยใช้เองได้ โดยใช้แม่ปุ๋ยหลัก ๆ 3 ตัว ดังแสดงในภาพที่ 6 6 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท แหล่งที่มา : โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท ภาพที่ 3 แสดงธาตุอาหารส าหรับการเจริญเติบโตของต้นข้าว แหล่งที่มา : โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท ภาพที่ 4 แสดงธาตุอาหารที่ต้นข้าวต้องใช้ต่อการผลิตข้าวเปลือก 100 ถังต่อไร่ 7 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท แหล่งที่มา : โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท ภาพที่ 5 แสดงสูตรปุ๋ยที่ผสมใช้เองในการปลูกข้าว หลักของการเรียนรู้ (ใช้ได้ทุกช่วงชีวิต) หลักของการเรียนรู้ ทุกคนสามารถน ามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา รวมถึงเกษตรกรที่สนใจในการ ค้นหาสิ่งใหม่ๆ มีหลักการง่าย ๆ คือ หัดสังเกต จดจ า เปรียบเทียบ หลักของธรรมชาติสิ่งทั้งหลายที่ปรากฏเป็น ผล ล้วนเกิดจาก เหตุ อาศัยกับ ปัจจัย ร่วมกันเกิดขึ้นจะไม่ปรากฏเป็นอิสระโดดเดี่ยวล าพัง เหตุดี + ปัจจัยดี ผลดี เหตุดี + ปัจจัยไม่ดี ผลดีลดลงหรือไม่ได้ผล เหตุไม่ดี + ปัจจัยดี ผลไม่ดีหรือผลไม่ดีลดลง เหตุไม่ดี + ปัจจัยไม่ดี ผลไม่ดี 8 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท อิทธิพลและปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตข้าว ตั้งแต่หว่านข้าวลงนาจนกระทั่งเก็บเกี่ยว มีอิทธิพลต่าง ๆ มากมายที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต ของข้าว เริ่มตั้งแต่การเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าว เมล็ดพันธุ์ดีผลผลิตที่ได้ก็จะออกมาดี ถ้าเมล็ดพันธุ์ไม่ดี เป็นโรค มี วัชพืชปนเยอะ ผลผลิตที่ได้ก็จะน้อยลง และในระหว่างที่ข้าวก าลังเจริญเติบโตอาจจะมีเรื่องของศัตรูพืชต่าง ๆ แมลง โรค และวัชพืช สภาพแวดล้อม อากาศ เป็นต้น ดังแสดงในภาพที่ 3 ภาพที่ 3 ปัจจัยและอิทธิพลต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการผลิตข้าว เมล็ดพันธุ์ข้าว (เหตุ) ข้าวเปลือก (ผล) ดิน ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า หอย น า ลม อุณหภูมิ แสง นก โรคข้าว สารป้องกันก าจัด แมลง ปุ๋ย แมลงศัตรูข้าว แมลงดี น าค้าง หมอก เมฆ ชีวภัณฑ์ป้องกันโรคและแมลง สารป้องกันก าจัดโรคข้าว ฝน จุลินทรีย์ หนู ปูนา ทุน แรงงาน เครื่องมือ น ามัน วัชพืช ยาคุม/ฆ่าวัชพืช ฮอร์โมน ยาจับใบ ใจ ฤดูกาล ความรู้ อินทรีย์วัตถุ การจัดการ เวลา 9 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท ศัตรูพืชของข้าวที่พบในแต่ละระยะ เกษตรกรสามารถพบโรคและแมลงเหล่านี้ได้ในแปลงนา ดังตารางที่ 1 ดังนั้นควรหมั่นส ารวจแปลงใน ทุกระยะ เพื่อหาทางป้องกันก าจัดได้ทันเวลา และควรพิจารณาว่าจ านวนศัตรูพืชที่พบอยู่ในระดับใด สร้าง ความเสียหายหนักหรือไม่ หากพบไม่เยอะเกษตรกรสามารถใช้สารชีวภัณฑ์ป้องกันก าจัดได้ทัน จะท าให้ เกษตรกรลดต้นทุนได้มาก ซึ่งน้ าหมักต่าง ๆ ที่ช่วยป้องกันก าจัดโรค แมลง และส่งเสริมการเจริญเติบโตมี รายละเอียดอยู่ในภาคผนวก ตารางที่ 1 ตารางการจัดการศัตร ูข้าว ระยะกล้า ระยะแตกกอ ระยะตั้งท้อง ระยะออกรวง ระยะเก็บเกี่ยว - โรคไหม้ - โรคใบขีดโปร่งแสง - โรคไหม้ - โรคไหม้ - โรคใบขีดโปร่งแสง - โรคถอดฝักดาบ - โรคใบขีดสีน้ าตาล - โรคถอดฝักดาบ - โรคถอดฝักดาบ - โรคขอบใบแห้ง - โรคใบสีแสด - โรคขอบใบแห้ง - โรคขอบใบแห้ง - โรครากปม - โรคไหม้ - โรคกาบใบแห้ง - โรคเมล็ดด่าง - โรคใบสีส้ม - โรคขอบใบแห้ง - โรครากปม - โรคกาบใบแห้ง - โรคถอดฝักดาบ - โรคใบขีดโปร่งแสง - โรครากปม - โรคกาบใบแห้ง - โรคใบสีส้ม - โรคกาบใบเน่า - โรครากปม - โรคใบจุดสีน้ าตาล - โรคใบจุดสีน้ าตาล - โรคใบหงิก - โรคเหลืองเตี้ย เพลี้ยไฟ หนอนกอ เพลี้ยกระโดดสี น้ าตาล แมลงสิง มวนง่าม เพลี้ยกระโดดสี น้ าตาล หนอนห่อใบข้าว หนอนกระทู้คอรวง หนอนแมลงวันเจาะ ยอด หนอนห่อใบข้าว หนอนกอ หนอนกอ หนอนกระทู้กล้า แมลงด าหนาม แมลงหล่า เพลี้ยกระโดดหลัง ขาว แมลงหล่า แมลงสิง หนอนปลอก 10 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท การป้องกันก าจัดศัตรูพืชข้าวโดยชีววิธี (โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท) สมุนไพรก าจัดแมลง (ที่มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน) - สารสกัดสะเดา - สารสกัดยาสูบ - สารสกัดกระเทียม + พริกไทย + พริกป่น - ยาสูบ + กะทิสด + กาแฟ - น้ าสับปะรด สมุนไพรต้านโรคพืช (มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อน) - เปลือกมังคุด + ขมิ้น + ผงพะโล้ - น้ าขี้เถ้า ใช้สิ่งมีชีวิตในการป้องกันก าจัดแมลง - เชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ก าจัดหนอน เป็นประเภทกินแล้วตาย - เชื้อรา Beauveria sp. ใช้ก าจัดหนอน เพลี้ย เป็นประเภทถูกตัวตาย - เชื้อรา Metarhizium sp. ใช้ก าจัดมด ปลวก เป็นประเภทถูกตัวตาย ใช้สิ่งมีชีวิตในการป้องกันก าจัดโรคพืช - เชื้อแบคทีเรีย Bacillus subtilis ป้องกันก าจัดโรคแคงเกอร์ โรคแอนแทรคโนส - เชื้อรา Trichoderma harzianum ป้องกันก าจัดโรครากเน่า โคนเน่า วิธีการสกัดสมุนไพรมีมากมายหลายวิธี ได้แก่ 1. การสกัดด้วยน้ า 2. การสกัดด้วยแอลกอฮอล์ ผสมน้ าส้มสายชู 5% 3. การสกัดด้วยการกลั่น 4. การสกัดด้วยการบีบคั้น 11 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท ภาคผนวก 12 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท แหล่งที่มา : ส านักส่งเสริมการผลิตข้าว กรมการข้าว ภาพที่ 4 ปฏิทินแสดงขั้นตอนการปลูกข้าวในเขตนาชลประทาน รายละเอียดขั้นตอนการปลูกข้าวได้มีการประยุกต์ใช้จากปฏิทินแสดงขั้นตอนการปลูกข้าวในเขตนา ชลประทาน ของส านักส่งเสริมการผลิตข้าว กรมการข้าว (ภาพที่ 4) ขั นตอนการเตรียมการก่อนปลูก การเตรียมดิน - เก็บตัวอย่างดินส่งวิเคราะห์เพื่อก าหนดปริมาณการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสม - หลังการเก็บเกี่ยวให้พักดิน 1-2 เดือน และไม่เผาฟาง/ตอซัง โดยใช้ฮอร์โมนไส้กล้วย กับ เชื้อราไตรโค เดอร์มาปล่อยลงในนาพร้อมกับน้ า เพื่อย่อยสลายฟางข้าวก่อนตีดิน - ไถกลบตอซังทิ้งไว้ 10-15 วัน ถ้าระเบิดดินดานใช้ผานหัวหมู 7 นิ้ว จะท าให้ผลผลิตเพิ่ม และลดปุ๋ยเคมี ได้มาก - ระบายน้ าเข้านาแล้วไถย่ าด้วยจอบหมุน แล้วปรับหน้าดินให้สม่ าเสมอ - ระบายน้ าออกและท าร่องระบายน้ าโดยชักร่องให้ตรงเป็นแนว ระยะห่างระหว่า ง 2-3 เมตร การเตรียมเมล็ดพันธุ์ - ใช้เมล็ดพันธุ์คุณภาพดี อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ - น าเมล็ดพันธุ์มาเตรียมตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 13 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท การเพาะเมล็ดและคลุกข้าวงอกก่อนน าไปหว่าน 1. น าข้าวใส่กะละมังที่ปูด้วยมุ้ง/ตาข่ายเขียว 2. เทน้ าใส่ในกะละมังให้ท่วม เก็บเมล็ดข้าวที่ลอยน้ าออกไป ให้เหลือแต่เมล็ดที่จมอยู่ 3. ใส่น้ าหมักไตรโคเดอร์มา 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร เพื่อป้องกันเชื้อรา โรครากเน่าโคนเน่า 4. ใส่ฮอร์โมนไข่ 20 ซีซี/น้ า 1 ลิตร เพื่อเร่งการเจริญของตาข้าว หน่อข้าว 5. ห่อข้าวด้วยตาข่ายเขียว และบ่มไว้ 12 ชั่วโมง 6. เมื่อครบ 12 ชั่วโมง ให้คลุกข้าวงอกด้วยของขมก่อนน าไปหว่าน 7. คลุกด้วยสารสกัดเมล็ดสะเดา 1 กก./ข้าว 1 ถัง เพื่อป้องกันเพลี้ย หนอน ไม่ให้กินหน่อข้าว 8. คลุกด้วยผงฟ้าทะลายโจร 1 ขีด/ข้าว 1 ถัง เพื่อป้องกันนก หนู มากินเมล็ดข้าว 9. คลุกด้วยซิลิกอน (silicon) 1 ขีด/ข้าว 1 ถัง เพื่อบ ารุงต้นให้แข็งแรง และต้านทาน 10. คลุกด้วยฮอร์โมนไส้กล้วย 20 ซีซี/น้ า 1 ลิตร เพื่อเร่งการเจริญของหน่อข้าว ในไส้กล้วยมีฮอร์โมน GA 11. น าข้าวงอกไปหว่านได้ ระยะกล้า (ข้าวอายุ 1-25 วัน) - ระบายน้ าออกให้ดินแห้งจนอายุข้าว 20 วัน - ใส่ปุ๋ยเคมี ครั้งที่ 1 สูตร 18-20-0 อัตรา 20-25 กิโลกรัม/ไร่ เมื่ออายุข้าว 20 วัน - ระบายน้ าเข้ารักษาระดับน้ าประมาณ 5 เซนติเมตร - ส ารวจแปลงนา หากไม่พบศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารก าจัดศัตรูพืช ระยะแตกกอ (ข้าวอายุ 25-55 วัน) - ข้าวอายุ 40 วัน กรณีสามารถระบายน้ าได้ให้ระบายน้ าออก หรือไม่ต้องสูบน้ าเข้านา ปล่อยให้นาแห้ง ประมาณ 5 วัน แล้วใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 2 สูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ - ระบายน้ าเข้า รักษาระดับน้ า 5-10 เซนติเมตร - ส ารวจแปลงนา หากไม่พบศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารก าจัดศัตรูพืช - ใช้แหนแดงในการคลุมดินเพื่อตรึงไนโตรเจนจากอากาศลงมา ช่วยให้ต้นข้าวสมบูรณ์แข็งแรง ระยะข้าวตั งท้อง (ข้าวอายุ 55-90 วัน) - ข้าวอายุ 55-60 วัน (ระยะแตกกอสูงสุด) - ใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 3 (หาข้าวมีอาการขาดปุ๋ย) สูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ - ระบายน้ าเข้า รักษาระดับน้ า 5-10 เซนติเมตร ระวังไม่ให้ข้าวขาดน้ า - ส ารวจแปลงนา 14 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท - ไม่พบแมลงศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารเคมี กรณีพบเพลี้ยกระโดดสีน้ าตาลเฉลี่ย 1 ตัว/ต้น จึงใช้สารเคมี ชนิดดูดซึมตามค าแนะน าในฉลาก - เมื่อพบพันธุ์ปนข้าวเรื้อให้ถอนท าลายออกนอกแปลงนา ระยะน านมและข้าวสุกแก่ (ข้าวอายุ 90-120 วัน) - ส ารวจแปลงนา - ข้าวอายุ 100 วัน ระบายน้ าออกให้แห้ง เพื่อเร่งให้ข้าวสุกแก่พร้อมกัน - เก็บเกี่ยวเมื่อข้าวอยู่ในระยะพลับพลึง 110-115 วัน หรือ 28-30 วันหลังออกดอก - ไม่พบแมลงศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารเคมี กรณีพบเพลี้ยกระโดดสีน้ าตาลเฉลี่ย 1 ตัว/ต้น จึงใช้สารเคมี ชนิดดูดซึมตามค าแนะน าในฉลาก - เมื่อพบพันธุ์ปนข้าวเรื้อให้ถอนท าลายออกนอกแปลงนา วิธีการท าแป้งกล้วย 1. หั่นกล้วยก่อน เคล็ดลับ หั่นกล้วยอย่างไรไม่ให้ด า (ให้ใช้กล้วยสุก 70-80%) 2. น าเห็ดนางรมมาท าน้ ายาฟอกขาว (เนื่องจากเห็ดมีสารอุลตาไธโอน) 3. หั่นเห็ด 100 กรัม จากนั้นน าไปต้มในน้ า 10 ลิตร (ให้น้ าเดือดก่อนค่อยใส่เห็ดลงไป) 4. ทิ้งไว้ให้เย็นประมาณ 30 นาที จากนั้นน าไปตากให้แห้ง 5. ท าการบดกล้ วยให้ละเอียด เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการก าจัดศัตรูพืช กลุ่มสมุนไพร 1. รสขม ป้องกันก าจัด แมลงปากกัด ปากดูด หนอน และเพลี้ย 2. รสเผ็ดร้อน ป้องกันก าจัดแมลง เพลี้ย แมลงหวี่ขาว และ ไรชนิดต่างๆ 3. กลิ่นฉุน ไล่แม่ผีเสื้อ แมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆ 4. รสฝาด ป้องกันแมลงกัดกินใบ แมลงดูดกินน้ าเลี้ยงและโรคพืชชนิดต่างๆ 5. มีน้ ายางสีขาว ก าจัดแมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆ 1. สารสกัดสมุนไพรชีวภาพ วัสดุ : สมุนไพรสด 1 กก. + จุลินทรีย์หน่อกล้วย 1 ลิตร วิธีท า : โขลกหรือบดสมุนไพร 1-3 อย่าง ในกลุ่มเดียวกัน หมักกับจุลินทรีย์หน่อกล้วยนาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ า เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สามารถเก็บไว้ใช้ได้นาน 15 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท 2. สารสกัดสะเดา วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 900 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + ผลสะเดาแห้งบด 500 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะ มีฝาปิดสนิทนาน 7 วัน แล้วบีบกรองเอาส่วนน้ าใสเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอน 3. สารสกัดสุขสมหวัง วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 900 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + ผงขมิ้นชัน 100 กรัม + ผงเปลือก มังคุด 50 กรัม + ผลพะโล้ 100 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดสนิทนาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ไล่แมลง ป้องกันโรคพืช 4. สารสกัดดีพร้อม วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 450 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% 450 ซีซี + กระเทียมกลีบสดบด 300 กรัม + พริกป่น 100 กรัม + พริกไทยด าป่น 100 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 14 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ไล่แมลง ป้องกันโรคพืช 5. สารสกัดข่า กระเทียม พริก วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 450 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% 450 ซีซี + เหง้า ข่าแก่บด 250 กรัม + กระเทียมกลีบสดบด 200 กรัม + พริกป่น 50 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 14 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ไล่แมลง ป้องกันโรคพืช 6. สารสกัดยาสูบ วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 450 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% 450 ซีซี + เส้น ยาฉุน 200 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 16 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท 7. สารสกัดยาสูบ กะทิ กาแฟ วัสดุ : มะพร้าวแกงขูด 200 กรัม + เส้นยาฉุน 100 กรัม + น้ าร้อนเดือด 1 ลิตร + กาแฟด า 200 กรัม วิธีท า : ผสมมะพร้าวแกงขูดกับเส้นยาฉุนให้เข้าด้วยกัน เทน้ าร้อนเดือดลงไป ทิ้งไว้ให้เย็นจึงคั้นน้ า จากนั้นใส่ผง กาแฟลงไปในน้ าที่คั้นได้ คนให้เข้ากันแล้วเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 8. สารสกัดยาสูบ กะทิ พริกป่น กาแฟ วัสดุ : มะพร้าวแกงขูด 200 กรัม + เส้นยาฉุน 100 กรัม + น้ าร้อนเดือด 1 ลิตร + กาแฟด า 200 กรัม + พริก ป่น 200 กรัม วิธีท า : ผสมมะพร้าวแกงขูดกับเส้นยาฉุนและพริกป่นให้เข้าด้วยกัน เทน้ าร้อนเดือดลงไป ทิ้งไว้ให้เย็นจึงคั้นน้ า จากนั้นใส่ผงกาแฟลงไปในน้ าที่คั้นได้ คนให้เข้าก ันแล้วเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดเพลี้ยไฟ 9. น้ าคั้นสับปะรด ผลสับปะรดสุก มีน้ าย่อยโปรตีนและน้ าย่อยไคติน น าน้ าคั้นไปฉีดพ่นท าลายไข่และตัวอ่อนของแมลง ได้ วัสดุ : ผลสับปะรดสุก วิธีท า : ผลสับปะรดสุกเอาจุกและก้านออก น ามาหั่นทั้งเปลือกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่เครื่องปั่นน้ าผลไม้หรือท่อด้วย ผ้ามุ้งไนล่อนน าไปโขลกหรือใช้มือสวมถุงมือยางขย าให้และบีบคั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร ผสมร่วมกับสารสกัดสมุนไพรหรือสารอื่นที่ฉีดพ่นเข้าทางใบ สรรพคุณ : เสริมการป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 10. เชื้อแบคทีเรีย บีที วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + นมรสจืด 2 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + น้ าตาลทราย 100 กรัม + ไข่ไก่ 1 ฟอง + หัว เชื้อแบคทีเรีย บีที 20 กรัม + กากน้ าตาล 1 กก. วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ 72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอน 17 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท 11. เชื้อราบิวเวอเรีย วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + นมข้าว 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + นมข้าวโพด 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + หัว เชื้อราบิวเวอเรีย 20 กรัม + กากน้ าตาล 1 กก. วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ 72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 12. เชื้อราเมตาไรเซียม วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + นมข้าว 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + นมข้าวโพด 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + หัว เชื้อราบิวเวอเรีย 20 กรัม + กากน้ าตาล 1 กก. วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ 72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 13. น้ ายาด่างทับทิม 5% วัสดุ : น้ า 1 ลิตร + ผงด่างทับทิม 50 กรัม วิธีท า : ละลายผงด่างทับทิมในน้ า คนให้ด่างทับทิมละลายจนหมด เก็บไว้ในขวดสีชาและน าไปใช้ได้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค 14. น้ าขี้เถ้า 20% วัสดุ : น้ า 1 ลิตร + ขี้เถ้าเตาฟืน 200 กรัม วิธีท า : ใส่ขี้เถ้าลงผสมในน้ า คนให้ขี้เถ้ากระจายตัวสักพัก ทิ้งค้างคืนให้ตกตะกอน รินหรือกรองเอาน้ าใส ๆ เก็บใส่ขวดไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค 18 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท 15. น้ าปูนใส วัสดุ : น้ า 1 ลิตร + ปูนกินหมาก 200 กรัม วิธีท า : ใส่ปูนกินหมากละลายลงในน้ า คนให้กระจายตัวส ักพัก ทิ้งค้างคืนให้ปูนตกตะกอน รินหรือกรองเอาน้ า ใส ๆ เก็บใส่ขวดไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค 16. สารสกัดเปลือกผลมังคุด วัสดุ : น้ าขี้เถ้า/น้ าปูนใส 20% 1 ลิตร + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + ผลเปลือกมังคุด 200 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 7 วัน บีบคั้นเอาแต่น้ าใส เก็บใส่ภาชนะไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดโรค 17. จุลินทรีย์หน่อกล้วย วัสดุ : หน่อกล้วย 3 กก. + กากน้ าตาล 1 กก. วิธีท า : หน่อกล้วยสับชิ้นเล็ก คลุกเคล้ากับกากน้ าตาล คนสองเวลา เช้าและเย็น นาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค 18. เชื้อราไตรโคเดอร์มา ขยายแบบไม่ใช้อากาศ วัสดุ : จุลินทรีย์หน่อกล้วย + กากน้ าตาล + เหล้าขาว 35 ดีกรี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% อย่างละ 1 ถ้วยตวง วิธีท า : ผสมส่วนประกอบทุกอย่างให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ 24 ชม. น ามาใช้ได้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดโรค 19. เชื้อราไตรโคเดอร์มา ขยายแบบใช้อากาศ วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + น้ านมขาว 1 กล่อง (250 ซีซี) + นมข้าวโพด 1 กล่อง (250 ซีซี) + หัวเชื้อราไตรโคเดอร์ มา 20 กรัม วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ 72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดโรค 1 ทางรอดจากภาวะถดถอยของอุตสาหกรรมข้าวไทย 21 ธันวาคม 2021 • EIC พบ 3 สัญญาณส าคัญที่บ่งชี้ว่าอุตสาหกรรมข้าวไทยเผชิญกับภาวะถดถอยมาอย่างยาวนาน ได้แก่ 1) ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทยในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลงมาตั้งแต่ปี 2004 และล่าสุดในปี 2020 ปรับตัวลดลงไปอยู่ในระดับที่ต ่าที่สุดในรอบ 47 ปี 2) ความสามารถในการท าก าไรของผู้เล่น ในอุตสาหกรรมข้าวมีแนวโน้มปรับตัวลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2009 และ 3) ภาระหนี้สินของครัวเรือน ชาวนามีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2009 • อนึ่ง จุดเปลี่ยนส าคัญที่น ามาสู่ความถดถอยของอุตสาหกรรมข้าวไทย เริ่มต้นตั้งแต่ทศวรรษ 2000 ซึ่งเป็นช่วงที่คู่แข่งต้นทุนต ่าก้าวเข้ามาแข่งขันกับไทยในตลาดข้าวคุณภาพสูง ซึ่งการที่คู่แข่งต้นทุนต ่า สามารถเสนอขายสินค้าข้าวที่มีคุณภาพสูงใกล้เคียงกับไทย ส่งผลให้ผู้ซื้อข้าวในตลาดโลกมีทางเลือก มากขึ้น และท าให้ต้นทุนในการส่งมอบสินค้ามีความส าคัญมากขึ้นต่อการตัดสินใจของผู้ซื้อข้าว ในตลาดโลกว่าจะเลือกซื้อข้าวจากแหล่งใด • อย่างไรก็ดี อุตสาหกรรมข้าวไทยมีต้นทุนในการผลิตข้าวที่สูงมาโดยตลอด ประกอบกับผลกระทบ จากปัจจัยภายนอกอื่น ๆ ส่งผลให้ผู้ซื้อข้าวในตลาดโลกหันไปซื้อข้าวจากประเทศคู่แข่งเพิ่มขึ้น จนท าให้ ไทยสูญเสียส่วนแบ่งตลาดข้าวโลก ซึ่งเมื่อไทยส่งออกข้าวได้น้อยลง ปริมาณข้าวส่วนเกินในประเทศ จึงปรับตัวเพิ่มขึ้น กดดันให้ราคาข้าวในประเทศปรับตัวลดลง ไปอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับราคาข้าว ของคู่แข่งในตลาดโลก และท าให้ชาวนาไทยประสบกับภาวะขาดทุนหรือมีก าไรอยู่ในระดับต ่า เนื่องจาก มีต้นทุนการผลิตข้าวที่สูงกว่าคู่แข่งในตลาดโลก • ทั้งนี้จากข้อมูลพบว่า ชาวนาไทยส่วนใหญ่มีขีดจ ากัดในการปรับตั วเพื่อลดต้นทุนในหลายด้าน ได้แก่ 1) ชาวนาไทยได้รับเงินทุนช่วยเหลือเพื่อพัฒนาจากต่างประเทศในระดับต ่า เมื่อเทียบกับชาวนา ในประเทศคู่แข่ง เนื่องจากประเทศคู่แข่งมีรายได้ต่อหัวประชากรที่ต ่ากว่าไทยค่อนข้างมาก 2) งบประมาณ ในการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวและนวัตกรรมในการผลิตข้าวของภาครัฐอยู่ในระดับต ่า 3) ชาวนาจ านวนมาก เข้าไม่ถึงแหล่งน ้า 4) ชาวนาส่วนใหญ่มีพื้นที่เพาะปลูกขนาดเล็ก และ 5) ชาวนาไทยส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้สูงอายุ ซึ่งเมื่อผู้เล่นในอุตสาหกรรมต้นน ้าหรือชาวนาปรับตัวได้ช้า อุตสาหกรรมข้าวทั้งระบบจึงได้รับ ผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากต้นทุนข้าวเปลือกคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 80% ของต้นทุน ในการแปรรูปข้าวสารเพื่อขาย ซึ่งขีดจ ากัดดังกล่าวส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน ของข้าวไทย และท าให้ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทยในตลาดโลกปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็น วงจรแห่งความถดถอยของอุตสาหกรรมข้าวไทยมาจนถึงทุกวันนี้ 2 3 สัญญาณส าคัญที่บ่งชี้ว่าอุตสาหกรรมข้าวไทยก าลังเผชิญภาวะถดถอย อุตสาหกรรมข้าวถือเป็นภาคเศรษฐกิจที่มีความส าคัญต่อสังคมไทย ทั้งในแง่การสร้างความมั่นคงด้านอาหารให้กับ ประเทศและการเป็นแหล่งรายได้ของครัวเรือนชนบทกว่า 4.7 ล้านครัวเรือน อย่างไรก็ดี EIC พบว่ามี 3 สัญญาณส าคัญ ที่บ่งชี้ว่า อุตสาหกรรมข้าวไทยได้เผชิญกับภาวะถดถอยมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 2000 เป็นต้นมา ดังนี้ 1. ส่วนแบ่งตลาดของข้าวไทยในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมา และลดลงไปอยู่ในระดับต ่าที่สุดในรอบ 47 ปี ในปีที่ผ่านมา รูปที่ 1 แสดงให้เห็นว่า นับตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมา ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทยในตลาดส่งออกข้าวโลกมีแนวโน้มค่อย ๆ ทยอยปรับตัวลดลงมาอย่างต่อเนื่อง สวนทางกับ ปริมาณการค้าข้าวโลกที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยล่าสุดในปี 2020 ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทยในตลาดส่งออก ข้าวโลกปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 12.6% ซึ่งถือเป็นส่วนแบ่งตลาดที่ต ่าที่สุดในรอบ 47 ปี โดยหากพิจารณาข้อมูล เป็นรายตลาดจะพบว่า ไทยสูญเสียส่วนแบ่งตลาดข้าวในเกือบทุกตลาดยกเว้นเพียงทวีปอเมริกาเหนือ ตัวอย่างเช่น ภูมิภาคตะวันออกกลางซึ่งเคยเป็นตลาดส่งออกที่ส าคัญของไทยนั้น พบว่าส่วนแบ่งตลาดข้าวไทย ปรับลดลงจาก 28.3% ในปี 2002 มาอยู่ที่ 1.2% ในปี 2020 ซึ่งส่วนแบ่งตลาดที่ลดลงอย่างมากดังกล่าว ส่งผลให้ ปริมาณการส่งออกข้าวไทยมีแนวโน้มปรับตัวลดลงจาก 10.1 ล้านตันในปี 2004 มาอยู่ที่ 5.7 ล้านตันในปี 2020 หรือปรับตัวลดลง 43.6% สวนทางกับปริมาณการค้าข้าวในตลาดโลกที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 27.3 ล้านตัน ในปี 2004 มาอยู่ที่ 45.2 ล้านตันในปี 2020 หรือปรับตัวเพิ่มขึ้น 66.7% นอกจากนั้น ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทย ที่ปรับตัวลดลง ยังส่งผลให้ปริมาณการส่งออกข้าวไทยเติบโตในระดับที่ต ่ากว่าปริมาณการส่งออกข้าว ของประเทศคู่แข่งอีกด้วย ตัวอย่างเช่น ในช่วง 10 เดือนแรกของปี 2021 ปริมาณการส่งออกข้าวของอินเดีย เติบโต 49.5%YOY ในขณะที่ปริมาณการส่งออกข้าวของไทยที่เติบโตเพียง 2.2%YOY • EIC ขอเสนอ 7 แนวทางในการลงทุนโดยภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อช่วยปลดล็อกขีดจ ากัดของชาวนาไทย ดังต่อไปนี้ 1) ลงทุนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านข้าวที่ตอบสนองต่อความต้องการ ของตลาดและช่วยแก้ปัญหาให้กับชาวนาไทย 2) ลงทุนสร้างความมั่นคงด้านแหล่งน ้าให้กับชาวนา ทุกครัวเรือน 3) ลงทุนสร้างเครือข่ายความร่วมมือขนาดใหญ่ของทุกภาคส่วน เพื่อร่วมสร้างความ เปลี่ยนแปลง 4) ลงทุนในเทคโนโลยีดิจิทัลและวิทยาศาสตร์ข้อมูล 5) ลงทุนสร้างห่วงโซ่ม ูลค่าสินค้า แปรรูปขั้นสูงจากข้าวและของเหลือจากการผลิตข้าว 6) ลงทุนสร้างห่วงโซ่มูลค่าสินค้าเกษตรมูลค่า สูงอื่น ๆ ที่จะช่วยเพิ่มรายได้ให้กับชาวนา และ 7) ลงทุนเพิ่มประสิทธิภาพการท างานของตลาดข้าว และตลาดปุ๋ยภายในประเทศ • แนวทางดังกล่าว ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและภาครัฐ ซึ่งหากทุกภาคส่วนร่วมมือกันเพื่อท าให้ชาวนาไทยมีความเข้มแข็งและสามารถปรับตัวได้ ก็จะช่วยให้ อุตสาหกรรมข้าวไทยหลุดจากวงจรแห่งความถดถอย รวมถึงสามารถเติบโตไปกับโลกใหม่ได้อย่างยั่งยืน 3 รูปที่ 1 : ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทยในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2004 และปรับตัวลดลงไปอยู่ในระดับที่ต ่าที่สุดในรอบ 47 ปี ในปีที่ผ่าน โดยไทยสูญเสียส่วนแบ่งตลาด ในเกือบทุกตลาด ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์และ USDA 2. ความสามารถในการท าก าไรของผู้เล่นในอุตสาหกรรมข้าวมีแนวโน้มปรับตัวลดลงมาตั้งแต่ปี 2009 สะท้อน ได้จากสัดส่วนจ านวนผู้ประกอบการซึ่งมีผลประกอบการขาดทุนที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (รูป 2) ตัวอย่างเช่น สัดส่วนจ านวนผู้ประกอบการในธุรกิจสีข้าวที่ขาดทุนปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 12.7% ในปี 2009 มาอยู่ที่ 25.2% ในปี 2019 ยิ่งไปกว่านั้น อัตราก าไรสุทธิของธุรกิจสีข้าวและธุรกิจการขายส่งข้าว ยังมีแนวโน้มปรับตัว ลดลงอย่างต่อเนื่องอีกด้วย (รูป 2) ตัวอย่างเช่น อัตราก าไรสุทธิของธุรกิจสีข้าวโดยรวมปรับตัวลดลงจาก 0.7% ในปี 2009 มาอยู่ที่ -1.3% ในปี 2019 โดยในช่วงปี 2015–2019 อัตราก าไรสุทธิของธุรกิจโรงสีข้าวติดลบมา อย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากต้นทุนในการขายมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่ายอดขาย ค่อนข้างมาก กล่าวคือ ในช่วงปี 2015–2019 ต้นทุนในการขายปรับตัวเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 2.3% ในขณะที่ ยอดขายปรับตัวเพิ่มขึ้นเพียง 0.8% 37.1 12.6 45.2 5.7 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 0 0 2020 70 0 20 0 2000 0.2 13.5 10.7 1.3 32.3 17.9 0 10 20 30 40 50 60 70 20 7 200 24. 2 . 0. 7. 2002 200 2004 20 20 4 200 200 2007 200 20 0 20 20 2 20 20 20 20 2020 เอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ ตะวันออกกลาง แอ ริกา ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทย (แกนซ้าย) ปริมาณการค้า ข้าวโลก (แกน ขวา) ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทยในตลาดโลกและปร มา การค้าข้าวโลก หน วย : % ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทยในทวีปต่าง หน วย : % ปริมาณการส่งออก ข้าวไทย (แกนขวา) 2004 หน วย : ล้านตัน 4 รูปที่ 2 : ความสามารถในการท าก าไรของผู้เล่นในอุตสาหกรรมข้าวมีแนวโน้มปรับตัวลดลงมาตั้งแต่ ปี 2009 ในข ะที่ภาระหนี้ส นของครัวเรือนชาวนามีแนวโน้มปรับตัวเพ ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2009 ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Enlite และส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 3. ภาระหนี้ส นของครัวเรือนชาวนามีแนวโน้มปรับตัวเพ ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2009 สะท้อนได้จากข้อมูลของส านักงาน เศรษฐกิจการเกษตร ที่แสดงให้เห็นว่า สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกข้าว ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 33.8% ในปี 2009 มาอยู่ที่ 77.6% ในปี 2020 (รูปที่ 2) หรือ ปรับตัวเพิ่มขึ้นกว่า 43.8 เปอร์เซ็นเทจพอยต์ ในช่วง 12 ปีที่ผ่านมา วงจรแห่งความถดถอยของอุตสาหกรรมข้าวไทย รูปที่ 3 : วงจรแห่งความถดถอยของอุตสาหกรรมข้าวไทย ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC 0.7 -2 -1 0 1 200 20 20 20 0 20 20 2 20 4 20 20 20 7 20 0.4 - . -0.4 สีข้าว การขายส่งข้าวและผลิตภัณ ์ที่ได้จากโรงสีข้าว 12.7 13.9 13.5 15.9 14.9 21.2 24.0 23.0 21.8 25.2 24.7 24.2 27.0 28.5 29.8 29.8 29.7 30.3 20 0 200 20 20 7 20 4 20 2 20 20 20 20 20 20. .2 2 .7 2 .4 สีข้าว การขายส่งข้าวและผลิตภัณ ์ที่ได้จากโรงสีข้าว สัดส่วนจ านวนผู้ประกอบการที่ขาดทุน หน วย : % อัตราก าไรสุท ของผู้เล่นในอุตสาหกรรมข้าวไทย หน วย : % สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ของครัวเรือนเก ตรในภาค ตะวันออกเ ียงเหนือ หน วย : % 33.8 31.9 33.5 40.3 41.7 45.0 49.3 44.7 50.1 69.8 89.3 77.6 20 4 200 20 0 20 2020 20 20 20 2 20 20 7 20 20 สูญเสียส่วนแบ่ง ตลาดข้าวโลก ส่งออกข้าวได้น้อยลง ปริมาณผลผลิต ข้าวส่วนเกินในประเทศเพิ่มขึ้น ราคาข้าวไทยปรับตัวลดลง ไปอยู่ใกล้เคียง กับราคาข้าวของคู่แข่งในตลาดโลก ชาวนาขาดทุนหรือ ได้ก าไรลดลง เพิ่มขีดความสามารถการ แข่งขันด้านต้นทุนได้ช้า อุตสาหกรรมข้าวไทย มีต้นทุนการผลิตสูง คู่แข่งต้นทุนต ่าก้าวเข้ามาแข่งขันใน ตลาดข้าวคุณภาพสูงซึ่งเป็นตลาดหลัก ในการส่งออกข้าวของไทย ป จจัยภายนอกอื่นๆ เช่น ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น ขีดจ ากัดใน การปรับตัว 5 ทั้งนี้ EIC พบว่า จุดเปลี่ยนส าคัญที่ก่อให้เก ดวงจรแห่งความถดถอยของอุตสาหกรรมข้าวไทย (รูป 3) มาจากการที่ คู่แข่งต้นทุนต ่าก้าวเข้ามาแข่งขันในตลาดข้าวคุ ภาพสูงของโลกในช่วงทศวรร 2000 อนึ่ง ในช่วงทศวรรษ 1990 ประเทศผู้ผลิตข้าวต้นทุนต ่าอย่างอินเดียและเวียดนาม ได้เริ่มต้นส่งออกข้าวคุณภาพต ่าสู่ตลาดโลก โดยในช่วงเวลา ดังกล่าวอุตสาหกรรมข้าวไทยปรับตัวโดยการลดการส่งออกข้าวคุณภาพต ่า เช่น ข้าวขาว 10-45% แล้วหันมาส่งออกข้าว คุณภาพสูง เช่น ข้าวหอมมะลิและข้าวขาว 5% เพิ่มขึ้นแทน (รูปที่ 4) ซึ่งการปรับตัวดังกล่าวช่วยให้ไทยยังคงรักษาส่วน แบ่งตลาดข้าวโลกไว้ได้ แม้จะมีต้นทุนการผลิตที่สูง และต่อมาในช่วงทศวรรษ 2000 ประเทศผู้ผลิตข้าวต้นทุนต ่าอย่าง กัมพูชาและเมียนมาหันมาส่งออกข้าวคุณภาพต ่าสู่ตลาดโลก ส่งผลให้คู่แข่งต้นทุนต ่าอย่างอินเดียและเวียดนาม จ าเป็นต้องเร่งพัฒนาตัวเองเพื่อหลีกหนีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้นในตลาดข้าวคุณภาพต ่า จนสามารถก้าวเข้ามาแข่งขัน ในตลาดข้าวคุณภาพสูงได้ในที่สุด สะท้อนได้จากสัดส่วนการส่งออกข้าวขาวคุณภาพสูงของเวียดนามที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น จาก 43.7% ในปี 2002 มาอยู่ที่ 87.8% ในปี 2020 หรือปริมาณการส่งออกข้าวหอมมะลิของเวียดนามที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 3 พันตันในปี 2002 มาอยู่ที่ 1.8 ล้านตันในปี 2020 (รูปที่ 4) รูปที่ 4 : ในช่วงทศวรร 1990 ไทยเร ่มลดการส่งออกข้าวคุ ภาพต ่าและหันมาส่งออกข้าวคุ ภาพสูง และในช่วง ทศวรร 2000 เวียดนามมีการเร่งพัฒนาตัวเอง จนสามารถก้าวเข้ามาแข่งขันในตลาดข้าวคุ ภาพสูง หมายเหตุ : *ข้าวขาวคุณภาพต ่าหมายถึงข้าวขาว 10–45% ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ USDA และสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย การก้าวเข้ามาแข่งขันของคู่แข่งต้นทุนต ่าในตลาดข้าวคุ ภาพสูงดังกล่าว ส่งผลให้ผู้ซื้อข้าวในตลาดโลกมีทางเลือก มากขึ้นและท าให้ต้นทุนในการส่งมอบข้าวมีความส าคัญมากขึ้นต่อการตัดส นใจของผู้ซื้อข้าวในตลาดโลกว่าจะเลือกซื้อ ข้าวจากแหล่งใด ซึ่งจากการศึกษาของ EIC พบว่า ในตลาดการค้าข้าวโลกนั้น โดยปกติแล้วผู้ซื้อข้าวจะพิจารณาป จจัย ส าคัญอย่างน้อย ด้าน ในการตัดสินใจซื้อข้าว (รูปที่ 5) ปัจจัยแรก คือต้นทุนในการส่งมอบส นค้า ซึ่งจะขึ้นอยู่กับ ต้นทุนการผลิตข้าว ค่าขนส่ง อัตราแลกเปลี่ยน และภาษี ปัจจัยที่สอง คือความหลากหลายของผล ตภั ฑ์ ซึ่งจะขึ้นอยู่ กับสายพันธุ์ข้าวที่ปลูก คุณภาพและมาตรฐานของข้าว และปัจจัยประการสุดท้าย คือความน่าเชื่อถือของอุปทาน ทั้งใน แง่ความพอเพียงและความมั่นคงของสินค้าส าหรับส่งออก รวมไปถึงการมีโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งที่ดี หรือ มีผลผลิตข้าวนอกฤดูกาล เป็นต้น โดยเราพบว่าคู่แข่งต้นทุนต ่าประสบความส าเร็จในการยกระดับและพัฒนา 43.7 87.8 56.3 12.2 2020 2002 ข้าวขาวคุณภาพต ่า ข้าวขาวคุณภาพสูง 3 1,802 2002 2020 สัดส่วนปร มา การส่งออกข้าวขาวคุ ภาพต ่าและคุ ภาพสูง ต่อปร มา การส่งออกข้าวขาวรวมของไทยและเวียดนาม หน วย : % ปร มา การส่งออกข้าวหอมมะล ของไทยและเวียดนาม หน วย : พันตัน 53.7 61.5 78.0 80.1 98.5 46.3 38.5 22.0 19.9 2000 0 20 0 2020 0 . ไทย เวียดนาม 149 702 1,204 2,351 1,190 20 0 0 2020 2000 ไทย เวียดนาม 6 ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านต่าง ๆ เหล่านี้ ทั้งในแง่ความหลากหลายของผลิตภัณ ์ข้าว ความน าเชื่อถือ ของอุปทาน ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งภายในประเทศและการส่งออกข้าวอย่างต่อเนื่อง จนท าให้มี ส่วนแบ่งในตลาดโลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ในทางกลับกัน เราพบว่าอุตสาหกรรมข้าวไทยมีต้นทุนในการผล ตข้าวที่สูงกว่าคู่แข่งค่อนข้างมาก ส่งผลให้ผู้ซื้อข้าว ในตลาดโลกหันไปซื้อข้าวจากประเทศคู่แข่งเพ ่มขึ้น จนท าให้ไทยสูญเสียส่วนแบ่งตลาดข้าวโลก ทั้งนี้จากการส ารวจ ของคณะกรรมาธิการการค้าระหว่างประเทศของสหรัฐฯ ในปี 2015 พบว่า ต้นทุนในการผลิตข้าวเปลือกของไทยอยู่ใน ระดับที่สูงกว่าอินเดียและเวียดนาม ราว 21.4% และ 73.2% ตามล าดับ ขณะที่สูงกว่าเมียนมาและกัมพูชาอยู่ราว 98.5% และ 205.6% ตามล าดับ (รูปที่ 6) โดยต้นทุนการผลิตข้าวที่สูงกว่าคู่แข่ง ประกอบกับป จจัยอื่น ๆ เช่น อัตราแลกเปลี่ยน ของไทยที่มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ส่งผลให้ต้นทุนในการส่งมอบสินค้าของไทยสูงกว่าประเทศคู่แข่ง สะท้อนได้จากราคาส่งออกข้าวไทยที่สูงกว่าประเทศคู่แข่งมาอย่างต่อเนื่อง (รูปที่ 7) ซึ่งต้นทุนในการส่งมอบข้าว ของไทยที่สูงกว่าคู่แข่งดังกล่าว ประกอบกับผู้ซื้อข้าวในตลาดโลกลดการให้ค่าพรีเมี่ยมกับข้าวไทยลง ส่งผลให้ไทย สูญเสียส่วนแบ่งตลาดข้าวโลกมาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากประเทศคู่ค้าส่วนใหญ่ของไทยซึ่งมีความอ่อนไหวต่อราคาข้าว ค่อนข้างมาก หันไปน าเข้าข้าวคุณภาพสูงจากประเทศคู่แข่งอย่างอินเดียและเวียดนามเพิ่มมากขึ้น (รูปที่ 7) รูปที่ 5 : 3 ปัจจัยส าคัญที่มีผลต่อการตัดส นใจซื้อข้าวในตลาดโลก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ U.S. International Trade Commission ต้นทุนการส่งมอบ ความหลากหลายของผล ตภั ฑ์ ความน่าเชื่อถือของอุปทาน ต้นทุนในการผลิต ต้นทุนในการขนส่ง อัตราแลกเปลี่ยน ภาษี สายพันธุ์ข้าวที่ปลูก มีผลิตภัณ ์ที่จะส่งออก เทคโนโลยีในการผลิต ต้นทุนป จจัยการผลิต เช่น ปุ ย ค่าแรง เป็นต้น ประสิทธิภาพของแรงงาน โครงสร้างของอุตสาหกรรม ระยะห่างจากประเทศคู่ค้า โครงสร้างพื้นฐานด้านการ ขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง มีผลผลิตนอกฤดูกาล 1 2 3 คุณภาพและมาตรฐานของข้าว 7 รูปที่ 6 : ต้นทุนในการผล ตข้าวของไทยสูงกว่าประเทศคู่แข่งอื่น ค่อนข้างมาก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ U.S. International Trade Commission อนึ่ง การที่ไทยสามารถส่งออกข้าวได้น้อยลง ส่งผลให้มีอุปทานส่วนเก นหมุนเวียนในประเทศเพ ่มมากขึ้น และท าให้ ราคาข้าวในประเทศปรับตัวลดลง ไปอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับราคาข้าวของคู่แข่งในตลาดโลก ทั้งนี้โดยปกติแล้ว ในแต่ละปี ไทยสามารถผลิตข้าวได้มากกว่าความต้องการบริโภคในประเทศอยู่ราว 30-50% ดังนั้น จึงมีความจ าเป็น ที่จะต้องส่งออกข้าวไปตลาดโลก เพื่อช่วยลดแรงกดดันของผลผลิตข้าวส่วนเกินในประเทศ แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อไทย ส่งออกข้าวได้น้อยลง แรงกดดันข้าวส่วนเกินในประเทศจึงปรับตัวเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาข้าวในประเทศปรับตัวลดลง จนไปอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับราคาข้าวในตลาดโลก และท าให้ชาวนาซึ่งเป็นต้นน ้าของอุตสาหกรรมข้าวประสบภาวะ ขาดทุนหรือมีก าไรอยู่ในระดับต ่า ซึ่งโดยทั่วไปแล้วภายใต้สถานการ ์ดังกล่าวนี้ ชาวนาควรเร่งปรับตัวเพื่อลดต้นทุน การผล ต แต่เรากลับพบว่าชาวนาไทยมีขีดจ ากัดหลายด้านในการปรับตัวเพื่อลดต้นทุนการผล ตข้าว ซึ่งปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อเนื่องมายังอุตสาหกรรมข้าวทั้งระบบ เนื่องจากต้นทุนการผล ตข้าวเปลือก ค ดเป็นสัดส่วนถึงกว่า 80% ของต้นทุนในการแปรรูปข้าวสารเพื่อจ าหน่าย ดังนั้น ต้นทุนการผล ตที่สูงดังกล่าว จึงส่งผลกระทบต่อราคาขาย และความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนของข้าวไทย และท าให้ส่วนแบ่งตลาดข้าวไทยในตลาดโลกปรับลดลง อย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นวังวนแห่งความถดถอยของอุตสาหกรรมข้าวไทยในที่สุด (รูปที่ 3) ต้นทุนในการผล ตข้าวเปลือกของประเทศผู้ส่งออกข้าวในปี 2014 หน วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน 89 137 157 224 272 กัมพูชา เวียดนาม เมียนมา อินเดีย ไทย 7 2% 98 % 2 4% 20 % 8 รูปที่ 7 : ราคาส่งออกข้าวไทยที่สูงกว่าประเทศคู่แข่ง ส่งผลให้ประเทศคู่ค้าส่วนใหญ่ของไทยหันไป น าเข้าข้าวจากประเทศคู่แข่งเพ ่มขึ้น สะท้อนได้จากส่วนแบ่งตลาดข้าวไทยที่ลดลง ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ FAO และ USDA 5 ขีดจ ากัดส าคัญในการปรับตัวของชาวนาไทย รูปที่ 8 : ระบบต่าง ที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมข้าวไทย ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC EIC พบว่า ความสามารถในการปรับตัวของชาวนา เพื่อรับมือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง มีความส าคัญต่อความอยู่รอดของอุตสาหกรรมข้าวไทย อุตสาหกรรมข้าวไทย มีความเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจ และสังคม ระบบนิเวศ ระบบภูมิอากาศ ระบบการค้าเคมีภัณ ์การเกษตรโลก และระบบการค้าข้าวโลก (รูป ) ราคาส่งออกข้าวไทยเทียบกับประเทศคู่แข่ง (ข้าวขาว 25%) 29 29 23 23 17 13 11 14 22 24 22 32 14 16 16 14 15 14 8 9 9 8 10 9 38 32 29 31 35 33 2020 0 - 20 0 - 20 7 2000 - 200 20 20 อื่นๆ เวียดนาม ปากีสถาน อินเดีย ไทย หน วย : % ส่วนแบ่งตลาดข้าวโลก จ าแนกตามประเทศผู้ส่งออก 0 100 200 300 400 500 600 700 800 900 1000 Jan-00 Feb-01 Mar-02 Apr-03 May-04 Jun-05 Jul-06 Aug-07 Sep-08 Oct-09 Nov-10 Dec-11 Jan-13 Feb-14 Mar-15 Apr-16 May-17 Jun-18 Jul-19 Aug-20 Sep-21 อินเดีย เวียดนาม ไทย หน วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน เพาะปลูก (ชาวนา) แปรรูป, ค้าส่ง ค้าปลีก, ส่งออก บริโภค การสูญเสียโดยเปล่าประโยชน์ อุตสาหกรรมข้าวไทย ระบบเศร ก จและสังคม การเปลี่ยนแปลงของประชากร, เศรษฐกิจ, พฤติกรรมผู้บริโภค เทคโนโลยี วัฒนธรรม นโยบาย สถาบัน เงื่อนไขสนับสนุนและข้อจ ากัด ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม ระบบน เวศ ดิน น ้า ความ หลากหลาย ทางชีวภาพ ประโยชน์จาก ระบบนิเวศ ผลกระทบ แรงกดดันจาก กิจกรรมทาง เศรษฐกิจอื่นๆ ระบบภูม อากาศ อุณภูมิ น ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น น ้าท่วมและภัยแล้ง ก าซเรือนกระจก ผลกระทบ ก าซเรือนกระจก ผลกระทบ ระบบการค้า ข้าวโลก คู่แข่ง, รสนิยม ผู้บริโภค, นโยบายการค้า ส่งออก รายได้ ระบบการค้าเคมีภั ฑ์ การเก ตรโลก รายได้ น าเข้า 9 ซึ่งบริบทแวดล้อมเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมข้าวไทยในหลากหลายมิติ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงในระบบการค้าข้าวโลกในช่วงทศวรร 2000 จากการเข้ามาแข่งขัน ของผู้เล่นต้นทุนต ่าในตลาดข้าวคุ ภาพสูง ส่งผลให้อุตสาหกรรมข้าวไทยต้องปรับตัวเพื่อเพ ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้านต้นทุน ซึ่งความส าเร็จในการปรับลดต้นทุนของอุตสาหกรรมข้าวไทยจะขึ้นอยู่กับความสามารถ ในการปรับกระบวนการผล ตข้าวของผู้เล่นในอุตสาหกรรมต้นน ้าเป็นหลัก เนื่องจากต้นทุนข้าวเปลือกที่ผลิตโดยชาวนา คิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 0% ของต้นทุนในการแปรรูปข้าวสารเพื่อขาย ขณะเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงของระบบ ภูมิอากาศและระบบนิเวศทางชีวภาพในป จจุบัน ประกอบกับการระบาดของ COVID-19 ยังส่งผลให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมทั่วโลกหันมาให้ความส าคัญกับการแก้ป ญหาโลกร้อนและความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศอย่าง จริงจัง ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ น าเอามาตรฐานด้านความยั่งยืนมาใช้ในการเลือกซื้อสินค้าจากตลาดโลกมากขึ้น ตัวอย่างเช่น ผลการส ารวจผู้ค้าปลีกในยุโรปของหน วยงานมาตรฐานการผลิตข้าวอย่างยั่งยืน (Sustainable Rice Platform) ในปี 2021 พบว่า หนึ่งในสามของกลุ่มตัวอย่างที่ส ารวจมีแผนที่จะจัดซื้อข้าวที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน การผลิตข้าวอย่างยั่งยืนคิดเป็นสัดส่วน 70% ของการจัดซื้อข้าวทั้งหมดภายในปี 2025 ดังนั้น อุตสาหกรรมข้าวไทย จึงจ าเป็นต้องเร่งปรับตัวเพื่อเพ ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านความยั่งยืน ซึ่งป จจัยแห่งความส าเร็จดังกล่าว ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถในการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตข้าวของชาวนาเป็นหลักเช่นเดียวกัน เนื่องจากกระบวนการ เพาะปลูกข้าว คือ กิจกรรมการผลิตที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุดในห่วงโซ่มูลค่าข้าว สะท้อนได้จากข้อมูล ของ Our World in Data ที่ชี้ให้เห็นว่า กระบวนการเพาะปลูกข้าวมีการปล่อยก าซเรือนกระจกคิดเป็นสัดส่วน 90% ของการปล่อยก าซเรือนกระจกทั้งหมดในห่วงโซ่มูลค่าข้าวโลก ดังนั้น ความสามารถในการปรับตัวของชาวนา เพื่อรับมือกับ กระแสการเปลี่ยนแปลงจากระบบต่าง ๆ จึงมีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมข้าวไทย อย่างไรก็ตาม ภายใต้ระบบเศร ก จและสังคมไทย ชาวนามีขีดจ ากัดในการปรับตัวหลายด้าน จนส่งผลให้ชาวนาไทย ปรับตัวช้า และมีส่วนท าให้อุตสาหกรรมข้าวไทยติดอยู่ในวงจรแห่งความถดถอยดังที่เป็นอยู่ในป จจุบัน โดย EIC พบว่า ชาวนาไทยมี 5 ขีดจ ากัดส าคัญในการปรับตัวดังต่อไปนี้ 1. ชาวนาไทยได้รับเง นทุนช่วยเหลือเพื่อพัฒนาจากต่างประเทศในระดับต ่า เมื่อเทียบกับชาวนา ในประเทศคู่แข่ง โดยจากข้อมูลขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) พบว่าในช่วงปี 2000-20 ไทยได้รับเงินทุนช่วยเหลือเพื่อพัฒนาภาคเกษตรจากต่างประเทศโดยเฉลี่ยเพียงปีละ 746 ล้านบาท แตกต่างจากอินเดียและเวียดนามที่ได้รับเงินทุนช่วยเหลือโดยเฉลี่ยปีละ 6,785 ล้านบาท และ 5,983 ล้านบาท ตามล าดับ เนื่องจากอินเดียและเวียดนามมีรายได้ต่อหัวประชากร (GDP per capita) ที่ต ่ากว่าไทยค่อนข้างมาก ซึ่งสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ไทยมีข้อจ ากัดในการลงทุนวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างนวัตกรรมด้านต่าง ๆ เช่น การพัฒนาพันธุ์ข้าวที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคหรือ การพัฒนากระบวนการปลูกข้าวที่ช่วยลดต้นทุน เป็นต้น ซึ่งการวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรมเป็นองค์ประกอบ ที่มีความส าคัญต่อความสามารถในการปรับตัวของชาวนาไทย 2. งบประมา ในการว จัยและพัฒนาพัน ุ์ข้าวและนวัตกรรมในการผล ตข้าวของภาครั อยู่ในระดับต ่า โดย จากข้อมูลพบว่างบประมาณส่วนใหญ่ในการแก้ป ญหาเรื่องข้าวของทุกรัฐบาล ถูกใช้ไปเพื่อแก้ป ญหา เฉพาะหน้า ตัวอย่างเช่น ในปีการผลิตข้าว 2021/2022 รัฐบาลจ่ายเงินส่วนต่างให้ชาวนาภายใต้โครงการ ประกันรายได้ไปแล้วกว่า 82,308 ล้านบาท ในทางตรงกันข้าม นโยบายที่จะช่วยแก้ป ญหาให้กับชาวนา อย่างยั่งยืนกลับได้รับการจัดสรรงบประมาณในระดับต ่า ตัวอย่างเช่น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ข้าวระยะ ปี (2020–2024) รัฐบาลตั้งงบเพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าวไว้เพียง 4 ล้านบาทหรือปีละ ล้านบาท และตั้งงบ เพื่อใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตข้าวไว้เพียง 2 ล้านบาท หรือปีละ ล้านบาทเท่านั้น 3. ชาวนาจ านวนมากเข้าไม่ถึงแหล่งน ้า น ้า คือ หัวใจของการปลูกข้าว ถ้าไม่มีน ้า ชาวนาก็ไม่สามารถปลูก ข้าวได้ แต่อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลของกรมชลประทาน พบว่า ในปี 202 ไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวในเขต 10 ชลประทานเพียง 24% แตกต่างจากเวียดนามที่มีพื้นที่ปลูกข้าวอยู่ในเขตชลประทานกว่า % โดยการที่ พื้นที่ปลูกข้าวส่วนใหญ่ของไทยอาศัยน ้า น ส่งผลให้ชาวนาไม่สามารถบริหารจัดการน ้าได้ ซึ่งเมื่อชาวนา ไม่สามารถบริหารจัดการน ้าได้ ก็ส่งผลให้ผลผลิตข้าวต่อไร่ที่ได้อยู่ในระดับต ่า และขึ้นอยู่กับความไม่แน นอน ของสภาพดิน ้าอากาศเป็นหลัก 4. ชาวนาส่วนใหญ่มีพื้นที่เพาะปลูกขนาดเล็ก นอกจากน ้าแล้ว ดิน คือ อีกหนึ่งทรัพยากรส าคัญในการปลูก ข้าว โดยจากข้อมูลของกรมส่งเสริมการเกษตร พบว่า ในปี 2020 ชาวนาไทยมีที่ดินโดยเฉลี่ยเพียง .2 ไร่ต่อครัวเรือน โดยชาวนากว่า แสนครัวเรือนหรือ . % ของครัวเรือนชาวนาทั้งหมด มีที่ดินน้อยกว่า ไร่ ในขณะที่อีก . ล้านครัวเรือนหรือ 2 .4% ของครัวเรือนชาวนาทั้งหมดมีที่ดินอยู่ระหว่าง - 0 ไร่ ซึ่งการที่ชาวนามีที่ดินขนาดเล็ก ส่งผลให้ผลประโยชน์ที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงอยู่ในระดับที่ต ่า จนไม่มี แรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลง นอกจากนั้น การที่ชาวนามีที่ดินขนาดเล็ก ยังส่งผลให้ประโยชน์ ทางเศรษฐกิจที่ได้จากการเข้าไปมีส่วนร่วมในห่วงโซ่มูลค่าอุตสาหกรรมข้าวอยู่ในระดับต ่าอีกด้วย ส่งผลให้ ชาวนาต้องหันไปท าอาชีพเสริมอื่น ๆ จนไม่มีเวลามาใส่ใจในการพัฒนากระบวนการผลิตข้าวเท่าที่ควร 5. ชาวนาไทยส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้สูงอายุ สะท้อนได้จากข้อมูลของกรมส่งเสริมการเกษตรในปี 2020 ที่เปิดเผยว่า 2 .4% ของหัวหน้าครัวเรือนเกษตรทั้งประเทศมีอายุเฉลี่ยมากกว่า ปี ในขณะที่อีก 2 . % มีอายุเฉลี่ยระหว่าง – ปี ซึ่งการที่ชาวนามีอายุมากขึ้น ประกอบกับการมีที่ดินขนาดเล็ก จนไม่คุ้มที่จะ ลงทุนซื้อเครื่องจักรกลการเกษตรมาใช้เอง ส่งผลให้ชาวนาไทยส่วนใหญ่ต้องจ้างแรงงานและเครื่องจักรกล ในการท านาแบบครบวงจร ตั้งแต่การเตรียมแปลงจนถึงขั้นตอนการเก็บเกี่ยว ดังนั้น ชาวนาจึงมีขีดจ ากัด ในการลดต้นทุนการผลิต เนื่องจากชาวนาเป็นเพียงผู้ซื้อบริการจากตลาดผู้รับจ้างในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การผลิตข้าว เช่น ตลาดรถรับจ้างเกี่ยวข้าว หรือตลาดแรงงานรับจ้างฉีดยาและใส่ปุ ย เป็นต้น 7 แนวทางในการลงทุนเพื่อช่วยปลดล็อกขีดจ ากัดในการปรับตัวของชาวนาไทย รูปที่ 9 : ราคาข้าวในตลาดโลกยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับต ่า จากแรงกดดันของสต็อกข้าวโลกที่ยังทรงตัวในระดับสูง ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ FAO, USDA และ OECD ดัชนีราคาข้าวโลกและสต็อกข้าวโลก หน วย : ดัชนี (2014-2016 = 100) 0 20 40 60 80 100 120 140 160 0 50 100 150 200 250 300 200 200 2000 2002 200 2004 200 2007 2022F 200 200 20 0 20 20 2 20 20 4 2020 20 20 20 2023F 20 7 20 2021F 2024F 2025F สต็อกข้าวโลก (แกนขวา) ดัชนีราคาข้าวโลก (แกนซ้าย) หน วย : ล้านตัน 11 การหยุดวงจรแห่งความถดถอยของอุตสาหกรรมข้าวไทย คือ วาระเร่งด่วนที่ผู้เล่นที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในอุตสาหกรรม ข้าวจะต้องร่วมมือกันแก้ไข เนื่องจากหากป ญหาดังกล่าวยังไม่ได้รับการแก้ไข ก็จะส่งผลให้อุตสาหกรรมข้าวไทย ยิ่งถดถอยลงไปเรื่อย ๆ และงบประมาณของภาครัฐที่ใช้เพื่ออุดหนุนชาวนาก็จะยิ่งเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เช่นเดียวกัน โดย EIC คาดการณ์ว่า ในระยะ – ปีข้างหน้า รัฐบาลจะมีภาระในการจ่ายเงินส่วนต่างให้ชาวนาภายใต้โครงการประกันรายได้ไม่ต ่า กว่าปีละ 80,000 ล้านบาท เนื่องจากคาดการณ์ว่าในช่วงปี 2022–202 ราคาข้าวในตลาดโลกจะยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับ ต ่าต่อเนื่อง จากแรงกดดันของสต็อกข้าวโลกที่ยังทรงตัวในระดับสูง (รูป 9) อนึ่ง EIC มองว่า การช่วยปลดล็อกขีดจ ากัดในการปรับตัวของชาวนา คือ หัวใจส าคัญที่จะช่วยให้อุตสาหกรรมข้าวไทย หลุดจากวงจรแห่งความถดถอย รวมถึงสามารถเต บโตไปกับโลกใหม่ได้อย่างยั่งยืน โดย EIC ขอเสนอ 7 แนวทาง ในการลงทุนโดยภาครั ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและชาวนา เพื่อช่วยปลดล็อกขีดจ ากัดของชาวนาไทยดังต่อไปนี้ 1. การลงทุนว จัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านข้าวที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาด และช่วยแก้ปัญหาให้กับชาวนาไทย การขาดงบลงทุนวิจัยและพัฒนา มีส่วนท าให้ศักยภาพในการผลิตข้าว ของชาวนาไทยเติบโตในระดับต ่า โดยในช่วงปี 1985–2020 ผลผลิตข้าวต่อไร่ของชาวนาไทยปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉลี่ยเพียงปีละ 0.8% แตกต่างจากผลผลิตข้าวต่อไร่ของชาวนาอินเดียและเวียดนามที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉลี่ยปีละ 1.8% และ 2.1% ตามล าดับ ซึ่งการที่ผลผลิตข้าวต่อไร่ของชาวนาไทยเติบโตในระดับต ่า ส่งผลให้ผลผลิตข้าวต่อไร่ของชาวนาไทยอยู่ในระดับที่ต ่ากว่าชาวนาประเทศคู่แข่งค่อนข้างมาก อีกทั้ง ยังต ่ากว่าค่าเฉลี่ยของชาวนาในภูมิภาคเอเชียถึงกว่า 46.2% (รูปที่ 10) ป ญหาดังกล่าวสะท้อนถึงโอกาส ในการลงทุนวิจัยและพัฒนาเพื่อยกระดับศักยภาพการผลิตข้าวของชาวนาไทยให้ทัดเทียมกับคู่แข่ง ซึ่งจาก การศึกษาของศูนย์วิจัยการเกษตรนานาชาติออสเตรเลีย พบว่าการลงทุนวิจัยและพัฒนาของสถาบันวิจัย ข้าวนานาชาติ (International Rice Research Institute) เพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้แก่ชาวนาเวียดนาม มีส่วนช่วยให้ผลผลิตข้าวต่อไร่ของชาวนาเวียดนามในพื้นที่ภาคใต้ปรับตัวเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยปีละ 1.2% ในช่วงปี 1985–2009 โดย EIC มองว่า ภาครัฐยังมีศักยภาพในการลงทุนเพิ่ม ผ่านการโยกเงินอุดหนุน ชาวนาที่ใช้เงินมากกว่าปีละหนึ่งแสนล้านบาท มาลงทุนในการวิจัยและพัฒนาด้านข้าวเพิ่มขึ้นแทน ทั้งนี้รูปแบบการลงทุนเพื่อการว จัยและพัฒนาของอุตสาหกรรมข้าวในประเทศออสเตรเลีย เป็นหนึ่ง ตัวอย่างที่น่าสนใจ กล่าวคือ ในแต่ละปี อุตสาหกรรมข้าวของออสเตรเลียจะได้เงินวิจัยมาจาก 1) การสมทบ เงินของชาวนาตามปริมาณผลผลิตข้าว 2) การสมทบเงินของภาครัฐในจ านวนที่เท่าเทียมกับการสมทบ ของชาวนา และ 3) การสมทบของภาคเอกชนและภาคประชาสังคม โดยเงินทุนวิจัยและพัฒนาที่ได้มา จะถูกน าไปใช้วิจัยในประเด็นส าคัญที่จะช่วยแก้ป ญหาให้กับชาวนาและช่วยให้อุตสาหกรรมข้าวออสเตรเลีย สามารถตอบสนองต่อความต้องการของตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนั้น เงินทุนวิจัย ดังกล่าวยังถูกน าไปใช้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เล่นในอุตสาหกรรมน าผลการวิจัยที่ได้ไปประยุกต์ใช้จริง 12 รูปที่ 10 : ผลผล ตข้าวต่อไร่ของชาวนาไทยอยู่ในระดับที่ต ่ากว่าชาวนาประเทศคู่แข่งค่อนข้างมาก และต ่ากว่าค่าเ ลี่ยของชาวนาเอเชียและชาวนาโลก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ USDA 2. การลงทุนเพื่อสร้างความมั่นคงด้านน ้าให้กับชาวนาไทยทุกครัวเรือน น ้า คือ หัวใจส าคัญในการท า การเกษตร โดยหากชาวนามีความมั่นคงด้านน ้า ก็จะช่วยให้ 1) ชาวนาสามารถเพิ่มผลผลิตข้าวต่อไร่ ได้ ผ่านการจัดการน ้าให้เพียงพอต่อความต้องการของต้นข้าว 2) ชาวนาสามารถลดการปล่อยก าซเรือน กระจกจากการท านาลงได้ ผ่านการจัดการน ้าแบบเปียกสลับแห้ง 3) ชาวนาสามารถลดต้นทุนในการใช้ สารเคมีลงได้ ผ่านการใช้น ้าเพื่อก าจัดวัชพืชทดแทนการใช้สารเคมี และ 4) ชาวนาสามารถหันไปปลูกพืช ชนิดอื่น ๆ ที่มีมูลค่าสูงได้ โดยป ญหาส าคัญในการบริหารจัดการน ้าของประเทศไทย คือ น ้ามักจะมาไม่ถูกที่ ถูกเวลา ดังนั้น จึงต้องมีการลงทุนสร้างระบบในการกักเก็บน ้าและระบบในการกระจายน ้าให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งการร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านน ้า เป็นแนวทางหนึ่งในการลงทุนที่น าสนใจในการพัฒนาและยกระดับอุตสาหกรรมข้าวไทย 3. การลงทุนสร้างเครือข่ายความร่วมมือขนาดใหญ่ของทุกภาคส่วนเพื่อร่วมสร้างความเปลี่ยนแปลง การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรม จะเกิดประโยชน์ก็ต่อเมื่อชาวนามีการน านวัตกรรมใหม่ไปใช้ อย่างกว้างขวาง แต่อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมชาวนาเป็นเรื่องที่มีความท้าทายอย่างยิ่ง เนื่องจากเกี่ยวข้องกับครัวเรือนชาวนามากถึงกว่า 4.7 ล้านครัวเรือน ดังนั้น จึงมีความจ าเป็นที่ต้องสร้าง เครือข่ายความร่วมมือขนาดใหญ่ ที่ประกอบไปด้วย ชาวนา ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ซึ่งโมเดลการยกระดับผลิตภาพเกษตรกรของประเทศจีน เป็นตัวอย่างหนึ่งที่น าสนใจ โดยในช่วงปี 2005–2015 นักวิจัยในมหาวิทยาลัยของจีนได้สร้างเครือข่าย ความร่วมมือขนาดใหญ่ ที่ประกอบไปด้วย ตัวแทนภาคเอกชนจ านวน 138,530 คน เจ้าหน้าที่ในหน วยงาน ภาครัฐจ านวน 65,420 คน นักวิทยาศาสตร์ นักเรียน นักศึกษา จ านวน , 2 คน โดยเครือข่ายนี้ได้เข้าไป ท างานร่วมกับเกษตรกรเพื่อเปลี่ยนแปลงวิธีการเพาะปลูกพืชของเกษตรกรให้สอดคล้องกับลักษณะ ของชุดดิน สภาพดิน ้าอากาศและความต้องการของพืช เช่น การใส่ปุ ยในระดับที่เหมาะสมกับความต้องการ ของต้นข้าว เป็นต้น โดยหลังจากที่เครือข่ายนี้ได้ด าเนินกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์และการประชุม 0 100 200 300 400 500 600 700 800 900 1,000 1985 1990 1995 2000 2005 2010 2015 2020 4 2% อินเดีย ไทย เวียดนาม เอเชีย โลก CAGR (1985 – 2020) 2.1% 1.0% 1.0% 1.8% 0.8% ผลผล ตข้าวต่อไร่ของไทย อ นเดีย เวียดนาม ภูม ภาคเอเชียและโลก หน วย : กิโลกรัมต่อไร่ 13 เชิงปฏิบัติการร่วมกับเกษตรกรมากกว่า 14,000 ครั้ง ในช่วงเวลา 10 ปี เครือข่ายนี้ก็ประสบความส าเร็จ ในการเปลี่ยนวิธีการเพาะปลูกของเกษตรกรได้ถึง 20.9 ล้านราย ซึ่งการเปลี่ยนวิธีการเพาะปลูกอย่างเดียว สามารถช่วยให้เกษตรเพิ่มผลผลิตต่อไร่ได้ถึง 10.8–11.5% และช่วยลดการใช้ปุ ยไนโตรเจนลงได้ถึง 14.7–18.1% 4. การลงทุนในเทคโนโลยีด จ ทัลและว ทยาศาสตร์ข้อมูล เป็นหนึ่งในกุญแจส าคัญที่จะช่วยปลดล็อก ขีดจ ากัดของชาวนา ตัวอย่างเช่น การลงทุนเก็บข้อมูลจากแปลงนา เช่น สภาพดิน สามารถน ามาสร้าง แบบจ าลองการเติบโตของข้าว เพื่อจัดท าค าแนะน าการผลิตข้าวที่จะช่วยให้ชาวนาได้ผลผลิตต่อไร่สูงที่สุด หรือ การสร้างแพลต อร์มที่จะช่วยให้ชาวนารวมกลุ่มกัน เพื่อซื้อป จจัยการผลิตและบริการรับจ้าง ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตข้าวจะช่วยให้ชาวนาสามารถต่อรองราคาป จจัยการผลิตและค่าบริการที่ถู กลงได้ นอกจากนั้น การลงทุนในเทคโนโลยีดิจิทัลและวิทยาศาสตร์ข้อมูล ยังเป็นการช่วยเปิดโอกาสใหม่ ๆ ที่หลากหลายให้กับชาวนาไทย ตัวอย่างเช่น การลงทุนเก็บข้อมูลปริมาณการปล่อยก าซเรือนกระจกในนาข้าว จะช่วยให้ชาวนาสามารถขายคาร์บอนเครดิตได้ เป็นต้น โดยภาคเอกชนจะมีบทบาทส าคัญในการลงทุน เพื่อน าเทคโนโลยีดิจิทัลและวิทยาศาสตร์ข้อมูลไปให้บริการชาวนา เนื่องจากชาวนาไทยมีที่ดินขนาดเล็ก ส่งผลให้ประโยชน์ที่ได้จากการลงทุนน าเทคโนโลยีมาใช้อยู่ในระดับต ่า จนไม่คุ้มค่าที่จะลงทุนด้วยตนเอง ดังนั้น การลดต้นทุนของการใช้เทคโนโลยีผ่านการใช้บริการจากผู้รับจ้าง จึงเป็นแนวทางส าคัญที่จะช่วย ให้ชาวนาเข้าถึงเทคโนโลยีได้ ซึ่งภาครัฐจะมีบทบาทส าคัญในการสร้างระบบนิเวศ ที่จะช่วยให้ผู้รับจ้าง ในกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการผลิตข้าวทั้งในป จจุบันและในอนาคต สามารถลงทุนเพื่อน าเทคโนโลยีดิจิทัล และวิทยาศาสตร์ข้อมูลไปให้บริการชาวนาได้ 5. การลงทุนสร้างห่วงโซ่มูลค่าส นค้าแปรรูปขั้นสูงจากข้าวและของเหลือจากการผล ตข้าว การเพิ่ม ศักยภาพในการผลิตข้าวของชาวนา จะกดดันให้ราคาข้าวปรับตัวลดลง หากไม่มีการสร้างตลาดเพื่อ รองรับผลผลิตข้าวที่เพิ่มขึ้น ดังนั้น การลงทุนสร้างห่วงโซ่มูลค่าสินค้าแปรรูปขั้นสูงจากข้าว เช่น เครื่องส าอาง อาหารเสริม อาหารสัตว์เลี้ยง อาหารปศุสัตว์ ขนม เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ เอทานอล และ ไบโอพลาสติก เป็นต้น เป็นสิ่งจ าเป็นที่จะต้องด าเนินการควบคู่ไปกับการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวของ ชาวนา นอกจากนั้น การสร้างห่วงโซ่มูลค่าสินค้าแปรรูปขั้นสูงจากของเหลือจากการผลิตข้าว เช่น การน า างข้าวมาท าเป็นชีวมวลและปุ ยชีวภาพ จะช่วยลดการเผา างข้าวและช่วยสร้างรายได้ใหม่ให้กับชาวนา 6. การลงทุนสร้างห่วงโซ่มูลค่าส นค้าเก ตรมูลค่าสูงอื่น ที่จะช่วยเพ ่มรายได้ให้กับชาวนา ทั้งนี้ป จจุบัน ชาวนาได้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ จากการเข้าไปมีส่วนร่วมในห่วงโซ่มูลค่าอุตสาหกรรมข้าวในระดับต ่า เนื่องจากชาวนาส่วนใหญ่ของไทยมีที่ดินท ากินขนาดเล็ก ดังนั้น จึงมีความจ าเป็นที่จะต้องสร้างแหล่ง รายได้ใหม่ ๆ ให้กับชาวนา โดยภาคเอกชนจะมีบทบาทส าคัญในการมองหาโอกาสใหม่ ๆ ในการเข้าไป สร้างห่วงโซ่มูลค่าสินค้าเกษตรมูลค่าสูงอื่นๆ เช่น ผักและผลไม้ กับชาวนาไทย 7. การลงทุนเพ ่มประส ท ภาพการท างานของตลาดข้าวและตลาดปุ๋ยภายในประเทศ EIC พบว่า ต้นทุน ของค่าการตลาดหรือต้นทุนในการน าสินค้าไปสู่มือผู้บริโภคของการค้าข้าวเปลือกและการค้าปุ ยเคมี ในไทยอยู่ในระดับสูง โดยจากรูปที่ 11 เราจะพบว่า ในช่วงปี 2016–2020 ต้นทุนค่าการตลาดข้าวเปลือก หอมมะลิในประเทศที่สูง ส่งผลให้ชาวนาได้รับราคาข้าวต ่ากว่าราคาที่ผู้บริโภคภายในประเทศจ่ายถึง 30.0% แตกต่างจากต้นทุนค่าการตลาดข้าวเปลือกหอมมะลิส่งออกที่ท าให้ชาวนาได้รับราคาต ่ากว่าราคา ที่ผู้น าเข้าจ่ายเพียง 13.8% ในท านองเดียวกัน ต้นทุนค่าการตลาดปุ ยยูเรียในประเทศส่งผลให้เกษตรกร ต้องจ่ายค่าปุ ยแพงขึ้น 38.0% จากราคาน าเข้า ดังนั้น การลงทุนเพื่อช่วยลดต้นทุนค่าการตลาดลง เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งหรือเครื่องจักรกลในการผลิต จะสามารถช่วยให้ราคาข้าวที่ชาวนาได้รับ ปรับตัวสูงขึ้นและราคาปุ ยเคมีปรับตัวลดลงได้ 14 รูปที่ 11 : ต้นทุนค่าการตลาดหรือต้นทุนในการน าส นค้าไปสู่มือผู้บร โภค ของการค้าข้าวเปลือก และการค้าปุ๋ยเคมีในประเทศอยู่ในระดับที่สูง หมายเหตุ : เพื่อให้ได้ต้นข้าวหอมมะลิ กิโลกรัม จะต้องใช้ข้าวเปลือก 2.4 กิโลกรัม ดังนั้น ราคาข้าวสารจะถูกหารด้วย 2.4 เพื่อที่จะคิดทอนราคาข้าวสารเป็นราคาข้าวเปลือก , ราคา CIF : คือราคาสินค้าที่รวม Cost (ต้นทุนสินค้า) Insurance (ประกันภัย) และ Freight (ค่าขนส่ง) ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรและกรมการค้าภายใน กล่าวโดยสรุป ผลการศึก าและว เคราะห์ชี้ให้เห็นว่า การที่อุตสาหกรรมข้าวไทยไม่สามารถปรับตัวให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของตลาดข้าวโลก ส่งผลให้อุตสาหกรรมข้าวไทยต้องเผช ญกับภาวะถดถอย โดยการช่วยปลดล็อก ขีดจ ากัดในการปรับตัวของผู้เล่นในอุตสาหกรรมต้นน ้าหรือชาวนา จะเป็นทางออกส าคัญที่จะช่วยให้อุตสาหกรรมข้าว ไทยหลุดพ้นจากวงจรแห่งความถดถอย รวมถึงสามารถเต บโตไปกับโลกใหม่ได้อย่างยั่งยืน บทวิเคราะห์โดย... https://www.scbeic.com/th/detail/product/7 ผู้เขียนบทวิเคราะห์ : ดร.เกียรติศักดิ์ ค าสี (kaittisak.kumse@scb.co.th) นักวิเคราะห์อาวุโส Economic Intelligence Center (EIC) ธนาคารไทยพาณิชย์ จ ากัด (มหาชน) EIC Online: www.scbeic.com Line: @scbeic Disclaimer: The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or such information by the recipient or other persons in whatever manner. Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct. This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in the companies mentioned herein. 8,579 11,836 3,257 ราคาขาย ปลีกท้องถิ่น ราคาน าเข้า CIF** ค่าการตลาด 8 0% 12,125 17,316 5,191 ราคาขายปลีก ราคาที่เกษตรกร ขายได้ ค่าการตลาด 0 0% ราคาที่เก ตรกรขายได้ ค่าการตลาด ราคาขายปลีกและราคา ส่งออกข้าวหอมมะล 100% ปี 2016 - 2020 หน วย : บาทต่อตันข้าวเปลือก ราคาน าเข้า (CIF) ปุ๋ยยูเรีย ค่าการตลาดและราคาขายปลีกปุ๋ย ยูเรียในตลาดท้องถ ่น ปี 2016 - 2020 หน วย : บาทต่อตัน 12,125 14,073 ราคาที่เกษตรกร ขายได้ 4 ราคาส่งออก ค่าการตลาด 8%