Chunk 1: มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 4004-2560 THAI AGRICULTURAL STANDARD TAS 4004-2017 ข้าวไทย THAI RICE ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ICS 67.060 ISBN 978-974-403-674-2 มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 4004-2560 THAI AGRICULTURAL STANDARD TAS 4004-2017 ข้าวไทย THAI RICE ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2561 2277 โทรสาร 0 2561 3357 www.acfs.go.th ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 134 ตอนพิเศษ 221 ง วันที่ 8 กันยายน พุทธศักราช 2560 (2) คณะกรรมการวิชาการพิจารณามาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้องกับสินค้าข้าว 1. อธิบดีกรมการข้าว หรือผู้ที่อธิบดีมอบหมาย ประธานกรรมการ นายอลงกรณ์ กรณ์ทอง รองอธิบดีกรมการข้าว นายกฤษณพงศ์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล รองอธิบดีกรมการข้าว 2. ผู้แทนกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ผู้อ านวยการกองมาตรฐานสินค้าน าเข้าส่งออก นายเอกรินทร์ อินกองงาม กรรมการ 3. ผู้แทนกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ นางสาวพัชรี พยัควงษ์ นางสาวจันทร ควรสมบูรณ์ กรรมการ 4. ผู้แทนกรมส่งเสริมการเกษตร นายส าราญ สาราบรรณ์ นายวิเศษศักดิ์ ศรีสุริยะธาดา นายวิโรจน์ จันทร์ขาว กรรมการ 5. ผู้แทนกรมส่งเสริมสหกรณ์ นางสาวปรานอม จันทร์ใหม่ นางเนาวรัตน์ เอื้ออารักษ์พงศ์ กรรมการ 6. ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข นางมาลี จิรวงศ์ศรี นางสาวจิรารัตน์ เทศะศิลป์ กรรมการ 7. ผู้แทนกองตรวจสอบรับรองมาตรฐานข้าวและผลิตภัณฑ์ กรมการข้าว นายประสงค์ ทองพันธ์ กรรมการ 8. ผู้แทนสภาเกษตรกรแห่งชาติ นางลัดดาวัลย์ กรรณนุช กรรมการ 9. ผู้แทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย นายวิชัย อัศรัสกร กรรมการ 10. ผู้แทนสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย นายวิชัย ศรีประเสริฐ นางมยุรา มานะธัญญา กรรมการ 11. ผู้แทนสมาคมโรงสีข้าวไทย นายมานัส กิจประเสริฐ กรรมการ (3) 12. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิเคราะห์และตรวจสอบคุณภาพข้าว นางสาวกัญญา เชื้อพันธุ์ กรรมการ 13. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตข้าวบรรจุถุง นายวิชัย ศรีนวกุล กรรมการ 14. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตข้าวเปลือก นายสามารถ อัดทอง กรรมการ 15. ผู้แทนส านักก าหนดมาตรฐาน ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ นางสาวณมาพร อัตถวิโรจน์ นางสาวมนทิชา สรรพอาสา นางสาววิรัชนี โลหะชุมพล กรรมการและเลขานุการ (4) ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ประกาศมาตรฐานสินค้าเกษตร ที่ มกษ. 4004-2555 เรื่อง ข้าว เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2555 เพื่อเป็นการปรับปรุงให้มาตรฐานมีเนื้อหาสอดคล้องกับสถานการณ์การผลิต และการค้าที่เปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร จึงเห็นสมควรให้ปรับปรุงแก้ไข มาตรฐานฉบับเดิม เพื่อให้ข้าวที่ผลิตในประเทศไทยเป็นที่ยอมรับมากขึ้น ทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศในด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ก าหนดขึ้นโดยใช้เอกสารต่อไปนี้เป็นแนวทาง กระทรวงพาณิชย์. 2559. ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง มาตรฐานสินค้าข้าวหอมไทย พ.ศ. 2559. กระทรวงพาณิชย์. 2559. ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง มาตรฐานสินค้าข้าว พ.ศ. 2559. ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2546. ข้าวหอมมะลิไทย. มกษ. 4000-2546. ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2551. ข้าวหอมไทย. มกษ. 4001-2551. ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2555. ข Chunk 2: ้าว. มกษ. 4004-2555. International Organization for Standardization. 2009. Cereals and cereal product-Sampling, Section 5.2 Sampling of bulk products and Section 5.3 Sampling of milled and other products in packed units. ISO 24333:2009. Joint FAO/WHO Food Standards Programme. 1995. Rice. CODEX STAN 198-1995. มกษ. 4004-2560 มาตรฐานสินค้าเกษตร ข้าวไทย 1. ขอบข่าย 1.1 มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ใช้กับข้าวไทย ซึ่งได้มาจากพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oryza sativa L. วงศ์ Gramineae หรือ Poaceae พันธุ์ที่ผลิตเป็นการค้า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรือ หน่วยงานอื่นที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศรับรองพันธุ์ และเป็น ข้าวที่ผลิตในประเทศไทยส าหรับการบริโภค มาตรฐานนี้รวมข้าวเจ้าและข้าวเหนียวที่อยู่ใน รูปของข้าวเปลือก ข้าวกล้อง และข้าวขาวที่บรรจุหีบห่อ ยกเว้นข้าวเปลือกอาจไม่บรรจุหีบห่อก็ได้ 1.2 มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ไม่ครอบคลุมสินค้า ดังต่อไปนี้ ก) ข้าวหอมมะลิไทย ที่ได้ก าหนดเป็นมาตรฐานไว้ตาม มกษ. 4000 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ข้าวหอมมะลิไทย ข) ข้าวหอมไทย ที่ได้ก าหนดเป็นมาตรฐานไว้ตาม มกษ. 4001 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ข้าวหอมไทย ค) ข้าวที่เติมสารอาหาร เช่น วิตามิน เกลือแร่ ง) ข้าวนึ่ง (parboiled rice) จ) ข้าวสีต่างๆ (colour rice) 2. นิยาม ความหมายของค าที่ใช้ในมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ มีดังต่อไปนี้ 2.1 ข้าวเจ้า (non glutinous rice or non waxy rice) หมายถึง ข้าวซึ่งเป็นพันธุ์ที่เมล็ดข้าวขาว มีลักษณะใส อาจมีหรือไม่มีจุดขุ่นขาวของท้องไข่ปรากฏอยู่ 2.2 ข้าวเหนียว (glutinous rice) หมายถึง ข้าวซึ่งเป็นพันธุ์ที่เมล็ดข้าวเหนียวขาวมีลักษณะขุ่นขาว ทั้งเมล็ด เมื่อนึ่งสุกเมล็ดจะเหนียวและจับติดกัน 2.3 ข้าวเปลือก (paddy or rough rice or unhusked rice) หมายถึง ข้าวที่ยังไม่ผ่านการกะเทาะเอา เปลือกออก 2.4 ข้าวเปลือกสด (wet paddy or wet unhusked rice) หมายถึง ข้าวเปลือกที่เก็บเกี่ยวและนวดทันที โดยไม่ผ่านกระบวนการลดความชื้น 2 มกษ. 4004-2560 2.5 ข้าวเปลือกแห้ง (dry paddy or dry unhusked rice) หมายถึง ข้าวเปลือกที่ผ่านกระบวนการ ลดความชื้นจนมีความชื้นไม่เกิน 15% 2.6 ข้าวกล้อง (husked rice or brown rice or cargo rice or loonzain rice) หมายถึง ข้าวที่ผ่าน การกะเทาะเอาเปลือกออกเท่านั้น 2.7 ข้าวขาว (white rice or milled rice or polished rice) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการน าข้าวกล้องเจ้า ไปขัดเอาร าออกแล้ว 2.8 ข้าวเหนียวขาว (white glutinous rice) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการน าข้าวกล้องเหนียวไปขัดเอา ร าออกแล้ว 2.9 ข้าวนึ่ง (parboiled rice) หมายถึง ข้าวที่ผ่านกระบวนการท าข้าวนึ่งและขัดเอาร าออกแล้ว 2.10 ส่วนของเมล็ดข้าว (parts of rice kernels) หมายถึง ส่วนของข้าวเต็มเมล็ดแต่ละส่วนที่แบ่งตาม ความยาวของเมล็ดออกเป็น 10 ส่วนเท่าๆ กัน 2.11 ข้าวเต็มเมล็ด (whole kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่อยู่ในสภาพเต็มเมล็ดไม่มีส่วนใดหัก และให้ รวมถึงเมล็ดข้าวที่มีความยาวตั้งแต่ 9 ส่วนขึ้นไป 2.12 ต้นข้าว1/ (head rice) หมายถึง เมล็ดข้าวหักที่มีความยาวมากกว่าข้าวหักแต่ไม่ถึงความยาวของ ข้าวเต็มเมล็ด และให้รวมถึงเมล็ดข้าวแตกเป็นซีกที่มีเนื้อที่เหลืออยู่ตั้งแต่ 80% ของเมล็ด 2.13 ข้าวหัก (brokens or broken rice) หมายถึง เมล็ดข้าวหักที่มีความยาวตั้งแต่ 2.5 ส่วนขึ้นไป แต่ไม่ถึงความยาวของต้นข้าว และให้รวมถึงเมล็ดข้าวแตกเป็นซีกที่มีเนื้อที่เหลืออยู่ Chunk 3: ไม่ถึง 80% ของเมล็ด 2.14 ข้าวเมล็ดสี (colour kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีอื่น เช่น สีแดง สีน้ าตาล สีม่วง สีม่วงด า หุ้มอยู่ทั้งเมล็ด หรือติดอยู่เป็นบางส่วนของเมล็ดที่อาจมีปนได้ 2.15 ข้าวเมล็ดท้องไข่ (chalky kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวเจ้าที่เป็นสีขาวขุ่นคล้ายชอล์ก และมีเนื้อที่ ตั้งแต่ 50% ขึ้นไปของเนื้อที่เมล็ดข้าว 2.16 ข้าวเมล็ดลีบ (undeveloped kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่ไม่เจริญเติบโตตามปกติที่ควรเป็น มีลักษณะแฟบแบน 2.17 ข้าวเมล็ดเสีย (damaged kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่เสียอย่างเห็นได้ชัดแจ้งด้วยตาเปล่า ซึ่งเกิดจากความชื้น ความร้อน เชื้อรา แมลง หรืออื่นๆ 2.18 ข้าวเมล็ดเหลือง (yellow kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีบางส่วนหรือทั้งเมล็ดกลายเป็นสีเหลือง อย่างชัดแจ้ง รวมทั้งข้าวนึ่งที่มีสีเหลืองเข้มบางส่วนหรือทั้งเมล็ดอย่างชัดแจ้ง 1/ ต้นข้าวหรือที่เรียกว่าข้าวต้นก็ได้ 3 มกษ. 4004-2560 2.19 ข้าวเมล็ดอ่อน (immature kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีสีเขียวอ่อนได้จากข้าวเปลือกที่ยัง ไม่สุกแก่ 2.20 วัตถุอื่น (foreign matter) หมายถึง สิ่งอื่นๆ ที่มิใช่ข้าว รวมทั้งแกลบและร าที่หลุดจากเมล็ดข้าว 2.21 แอมิโลส (amylose) หมายถึง แป้งชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในเมล็ดข้าว ซึ่งมีผลท าให้เมื่อหุงเป็นข้าวสวย จะมีความอ่อนนุ่มหรือกระด้าง แตกต่างกันไปตามปริมาณแอมิโลส ทั้งนี้ปริมาณแอมิโลส ที่สูงขึ้นจะท าให้ข้าวมีความกระด้างมากขึ้น 2.22 ค่าการสลายเมล็ดในด่าง (alkali spreading value) หมายถึง อัตราการสลายของแป้งในเมล็ดข้าว เมื่อแช่ข้าวที่ขัดสีเยื่อหุ้มเมล็ดออกแล้ว ในสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 1.7% นาน 23 h ที่อุณหภูมิ 30C 3. การแบ่งประเภทและกลุ่ม 3.1 ข้าวไทยแบ่งตามระดับการแปรสภาพข้าวเป็น 3 ประเภท ดังนี้ ก) ข้าวเปลือก ข) ข้าวกล้อง ค) ข้าวขาวและข้าวเหนียวขาว 3.2 ข้าวไทยแบ่งตามปริมาณแอมิโลสเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ ก) กลุ่มข้าวเจ้านุ่ม แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสต่ า (ตั้งแต่ 13.0% ถึง 20.0% โดยน้ าหนัก ที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก) และข้าวมีค่าการสลายเมล็ดในด่างระดับ 6 ถึงระดับ 7 เมื่อหุงสุกเป็นข้าวสวยแล้วเมล็ดจะอ่อนนุ่ม ค่อนข้างเหนียว ข) กลุ่มข้าวเจ้าร่วน แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสปานกลาง (มากกว่า 20.0% ถึง 25.0% โดยน้ าหนัก ที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก) เมื่อหุงสุกเป็นข้าวสวยแล้วเมล็ดข้าว จะร่วน ค่อนข้างนุ่ม ค) กลุ่มข้าวเจ้าแข็ง แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสสูง (มากกว่า 25.0% ขึ้นไปโดยน้ าหนัก ที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก) เมื่อหุงสุกเป็นข้าวสวยแล้วเมล็ดข้าวร่วนและแข็ง ง) กลุ่มข้าวเหนียว แป้งของข้าวเหนียวขาวมีปริมาณแอมิโลสต่ ามากหรือไม่มีเลย ข้าวมี ค่าการสลายเมล็ดในด่างระดับ 6 ถึงระดับ 7 เมื่อนึ่งสุกเมล็ดข้าวจะเหนียวและจับติดกัน ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของข้าวไทยที่จัดอยู่ในแต่ละกลุ่มข้างต้น มีรายละเอียด ตามภาคผนวก ก 4 มกษ. 4004-2560 4. คุณภาพ 4.1 ข้อก าหนดทั่วไป ข้าวไทย ทั้งข้าวเปลือก ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาว ต้องมีคุณภาพทั่วไป ดังต่อไปนี้ ก) มีความปลอดภัยและคุณภาพเหมาะสมต่อการบริโภค (อย่างน้อยตามข้อ 7 ข้อ 8 และข้อ 9) ข) เมล็ดข้าวมีลักษณะปรากฏสม่ าเสมอ เป็นไปตามชั้นคุณภาพตามข้อ 4.3 ค) ไม่มีกลิ่นผิดปกติ เช่น กลิ่นเหม็นเปรี้ยว 4.2 ข้อก าหนดเฉพาะ 4.2.1 ข้าวเปลือกของข้าวไทย Chunk 4: ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะ ดังต่อไปนี้ ก) มีความชื้นไม่เกิน 15% กรณีข้าวเปลือกที่จะน าไปเก็บรักษาจะต้องมีความชื้นไม่เกิน 14% การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 ในทางปฏิบัติ การซื้อขายข้าวเปลือกสดของข้าวไทยตามปริมาณความชื้นสามารถท าได้ใน ระดับที่ต่ ากว่าหรือสูงกว่าเกณฑ์ความชื้นที่ก าหนด 15% ขึ้นกับข้อตกลงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ที่มีการค านวณการตัดราคา หรือตัดน้ าหนัก หรือเพิ่มราคาซื้อขาย ตามปริมาณความชื้นของ ข้าวเปลือกสดของข้าวไทยนั้น ข) กรณีข้าวเปลือกแห้ง ให้มีคุณภาพการขัดสีได้ข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าวของข้าวขาวตั้งแต่ 34% ขึ้นไป โดยน้ าหนัก ในทางปฏิบัติ การซื้อขายข้าวเปลือกแห้งของข้าวไทยตามคุณภาพการขัดสีสามารถท าได้ ในระดับที่ต่ ากว่าหรือสูงกว่าเกณฑ์คุณภาพการขัดสีที่ก าหนด 34% โดยน้ าหนัก ขึ้นกับข้อตกลง ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ที่มีการค านวณการตัดราคา หรือตัดน้ าหนัก หรือเพิ่มราคาซื้อขาย ตามคุณภาพการขัดสีของข้าวเปลือกแห้งของข้าวไทยนั้น ค) มีข้าวและวัตถุอื่นที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกสด ไม่เกินตามที่ระบุในตารางที่ 1 ง) มีข้าวและวัตถุอื่นที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกแห้ง ไม่เกินตามที่ระบุในตารางที่ 2 และตารางที่ 3 5 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ 1 ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกสดของข้าวไทย (ข้อ 4.2.1 ค)) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ เกณฑ์การยอมรับ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเมล็ดสี* <1.0 ข้าวเมล็ดลีบรวมวัตถุอื่น** <2.0 ข้าวเมล็ดอ่อน** <6.0 หมายเหตุ การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 * ทดสอบจากข้าวกล้อง ** ทดสอบจากข้าวเปลือกและ/หรือข้าวกล้อง ตารางที่ 2 ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกเจ้าแห้งของข้าวไทย (ข้อ 4.2.1 ง)) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ เกณฑ์การยอมรับ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเมล็ดสี* <1.0 ข้าวเมล็ดเหลือง*** <1.0 ข้าวเมล็ดเสีย*** <1.0 ข้าวเมล็ดลีบรวมวัตถุอื่น** <2.0 ข้าวเมล็ดอ่อน** <6.0 ข้าวเมล็ดท้องไข่***** <7.0 ข้าวเหนียว**** <2.0 หมายเหตุ การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 *ทดสอบจากข้าวกล้อง ** ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง ***ทดสอบจากข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว *****ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว ******ทดสอบจากข้าวขาว 6 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ 3 ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกเหนียวแห้งของข้าวไทย (ข้อ 4.2.1 ง)) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ เกณฑ์การยอมรับ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเมล็ดสี* <1.0 ข้าวเมล็ดเหลือง*** <1.0 ข้าวเมล็ดเสีย*** <1.0 ข้าวเมล็ดลีบรวมวัตถุอื่น** <2.0 ข้าวเมล็ดอ่อน** <6.0 ข้าวเจ้า**** <5.0 หมายเหตุ การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 *ทดสอบจากข้าวกล้อง ** ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง ***ทดสอบจากข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว *****ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว 4.2.2 ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะ ดังต่อไปนี้ ก) ปราศจากแมลงและไรที่มีชีวิต ข) มีความชื้นไม่เกิน 14% 4.3 การแบ่งชั นคุณภาพ 4.3.1 ชั นคุณภาพข้าวเปลือกของข้าวไทย แบ่งโดยการวัดความยาวของข้าวกล้อง ได้เป็น 3 ชั้นคุณภาพ ตามที่ระบุในตารางที่ 4 ดังนี้ ตารางที่ 4 ชั นคุณภาพข้าวเปลือกของข้าวไทยตามความยาวของข้าวกล้อง และเกณฑ์ยอมรับ (ข้อ 4.3.1) ประเภท ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง* >7.2 mm 6.8 – <7.2 mm < Chunk 5: 6.8 – 6.4 mm < 6.4 mm ข้าวเปลือก ชั้นคุณภาพที่ 1 >75% - <5% <5% ข้าวเปลือก ชั้นคุณภาพที่ 2 >20% - <10% ข้าวเปลือก ชั้นคุณภาพที่ 3 - <50% หมายเหตุ * การทดสอบพิจารณาเฉพาะข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหัก ไม่รวมข้าวหัก 7 มกษ. 4004-2560 4.3.2 ชั นคุณภาพข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย ชั้นคุณภาพของข้าวกล้องไทย ข้าวขาวไทย ข้าวเหนียวขาวไทย ข้อก าหนดส่วนผสมข้าวและสิ่งที่ อาจมีปนได้ และระดับการขัดสี ให้เป็นไปตามข้อก าหนดของข้าวขาวและข้าวกล้องแต่ละชนิด ตามมาตรฐานสินค้าข้าว ที่ประกาศโดยกระทรวงพาณิชย์ (รายละเอียดตามภาคผนวก ข) 5. การบรรจุหีบห่อ 5.1 ข้าวเปลือกของข้าวไทย หากมีการบรรจุ เช่น บรรจุกระสอบ กระสอบควรจะสะอาด แข็งแรง และมีการเย็บหรือปิดผนึกแน่น เพื่อป้องกันการปนเปื้อน การปนของข้าวอื่นจากภายนอก และป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น 5.2 ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย ต้องบรรจุในภาชนะบรรจุที่เก็บรักษาเมล็ดข้าวได้เป็นอย่างดี วัสดุที่ใช้ต้องสะอาดมีคุณภาพ ที่สามารถป้องกันการปนเปื้อนจากภายนอก มีคุณสมบัติทนทานต่อการขนส่ง และสามารถ ป้องกันความเสียหายอันจะมีผลต่อคุณภาพของเมล็ดข้าว หากมีการใช้กระดาษหรือตราประทับ ที่มีข้อมูลทางการค้าต้องใช้หมึกพิมพ์หรือกาวที่ไม่เป็นพิษ 6. การแสดงฉลากและเครื่องหมาย 6.1 สินค้าที่จ าหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค ต้องมีข้อความแสดงรายละเอียดที่หีบห่อหรือสิ่งห่อหุ้ม หรือป้ายสินค้า โดยข้อความต้อง มองเห็นได้ง่าย ชัดเจน ไม่หลุดลอก ไม่เป็นเท็จหรือหลอกลวงหรือที่อาจจะท าให้เข้าใจผิด เกี่ยวกับลักษณะสินค้า อย่างน้อยดังต่อไปนี้ ก) ชื่อสินค้า ให้แสดงข้อความว่า “ข้าวไทย” และอาจแสดงข้อความภาษาอังกฤษว่า “THAI RICE” ข) พันธุ์ข้าว (กรณีที่จ าหน่ายเป็นข้าวเฉพาะพันธุ์และต้องการระบุชื่อพันธุ์ข้าว) ต้องมีข้าวพันธุ์ที่ระบุชื่อไม่น้อยกว่า 90% โดยปริมาณ หรือมีเอกสารหลักฐานที่ท าให้เชื่อมั่น ได้ว่าเป็นข้าวไทยพันธุ์ที่ระบุชื่อและสามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นข้าวตรงตามพันธุ์ที่ระบุไว้ ค) ประเภทสินค้าตามข้อ 3.1 ให้แสดงข้อความว่าเป็นข้าวกล้อง หรือข้าวขาว หรือข้าวเหนียวขาว ง) กลุ่มข้าวไทยตามข้อ 3.2 (กรณีมีการจัดกลุ่ม) จ) น้ าหนักสุทธิเป็นระบบเมตริก 8 มกษ. 4004-2560 ฉ) ชั้นคุณภาพ (กรณีมีการจัดชั้นคุณภาพ) ช) วัน เดือน ปี ที่ควรบริโภคก่อน และ/หรือ วัน เดือน ปี ที่ผลิต หรือบรรจุ กรณีของข้าวกล้องไทย ให้ระบุ วัน เดือน ปี ที่ควรบริโภคก่อน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง ซ) ข้อมูลผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ให้ระบุชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฌ) ประเทศที่เป็นแหล่งก าเนิด ให้ระบุชื่อประเทศไทย ยกเว้นกรณีที่ผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศ ญ) ค าแนะน าการใช้หรือการหุงต้ม ฎ) ภาษา กรณีที่ผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศต้องใช้ข้อความเป็นภาษาไทย แต่จะมีภาษาต่างประเทศ ด้วยก็ได้ กรณีที่ผลิตเพื่อการส่งออกให้แสดงข้อความเป็นภาษาต่างประเทศได้ 6.2 สินค้าที่ไม่ได้จ าหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค (non-retail container) หรือสินค้า ที่จ าหน่ายเป็นปริมาณมากโดยไม่ได้บรรจุหีบห่อ ต้องมีข้อความที่ระบุในเอกสารก ากับสินค้า หรือฉลาก หรือแสดงไว้ที่หีบห่อ โดยข้อความ ต้องมองเห็นได้ง่าย ชัดเจน ไม่หลุดลอก ไม่เป็นเท็จหรือหลอกลวง หรือที่อาจจะท าให้เข้าใจผิด เกี่ยวกับลักษณะของสินค้า อย่างน้อยดังต่อไปนี้ ก) ชื่อสินค้า ให้แสดงข้อคว Chunk 6: ามค าว่า “ข้าวไทย” และอาจแสดงข้อความภาษาอังกฤษว่า “THAI RICE” ข) พันธุ์ข้าว (กรณีที่จ าหน่ายเป็นข้าวเฉพาะพันธุ์และต้องการระบุชื่อพันธุ์ข้าว) ต้องมีข้าวพันธุ์ที่ระบุชื่อไม่น้อยกว่า 90% โดยปริมาณ หรือมีเอกสารหลักฐานที่ท าให้เชื่อมั่น ได้ว่าเป็นข้าวไทยพันธุ์ที่ระบุชื่อและสามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นข้าวตรงตามพันธุ์ที่ระบุไว้ ค) ประเภทสินค้าตามข้อ 3.1 ให้แสดงข้อความว่าเป็นข้าวเปลือก หรือข้าวกล้อง หรือข้าวขาว หรือข้าวเหนียวขาว ง) กลุ่มข้าวไทยตามข้อ 3.2 (กรณีมีการจัดกลุ่ม) จ) น้ าหนักสุทธิเป็นระบบเมตริก ฉ) ชั้นคุณภาพ (กรณีมีการจัดชั้นคุณภาพ) ช) วัน เดือน ปี ที่ผลิตหรือบรรจุ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 9 มกษ. 4004-2560 ซ) ข้อมูลผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ให้ระบุชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฌ) ประเทศที่เป็นแหล่งก าเนิด ให้ระบุชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ญ) ภาษา กรณีที่ผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศต้องใช้ข้อความเป็นภาษาไทย แต่จะมีภาษาต่างประเทศ ด้วยก็ได้ กรณีที่ผลิตเพื่อการส่งออกให้แสดงข้อความเป็นภาษาต่างประเทศได้ 6.3 เครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร การแสดงเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง เรื่อง ก าหนด ลักษณะของเครื่องหมาย การใช้เครื่องหมาย และการแสดงเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร และประกาศส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติที่เกี่ยวข้อง 7. สารปนเปื้อน ปริมาณสูงสุดของสารปนเปื้อนในสินค้าข้าวไทย ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือข้อก าหนดของ มาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง 8. สารพิษตกค้าง ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในข้าวไทย ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และ มกษ. 9002 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด และ มกษ. 9003 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้อนจาก สาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ 9. สุขลักษณะ 9.1 การผลิตและการปฏิบัติต่อข้าวไทยในขั้นตอนต่างๆ รวมถึงการเก็บรักษา การบรรจุ และการขนส่ง ต้องปฏิบัติอย่างถูกสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค 9.2 การปฏิบัติในระดับแปลงนา ต้องได้รับการรับรองหรือผ่านการประเมินตาม มกษ. 4401 มาตรฐาน สินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) ส าหรับข้าว หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า 10 มกษ. 4004-2560 9.3 การปฏิบัติในการสีและการบรรจุ ต้องได้รับการรับรองตาม - มกษ. 4403 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติที่ดีส าหรับโรงสีข้าว หรือ - มกษ. 9023 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติ: หลักการทั่วไปเกี่ยวกับ สุขลักษณะอาหาร หรือ - มกษ. 9024 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้อง ควบคุมและแนวทางการน าไปใช้ หรือ - ระบบการปฏิบัติที่ดีส าหรับการผลิต (Good Manufacturing Practices: GMP) และ/หรือระบบ การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (Hazard Analysis and Critical Control Point: HACCP) ตามมาตรฐาน General Principles of Food Hygiene (CAC/RCP 1-1969) หรือ - มาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า หรือ - ประกาศส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขของผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประ Chunk 7: กอบการตรวจสอบมาตรฐาน หลักเกณฑ์เฉพาะ ส าหรับการรับรองผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานสินค้าข้าว 10. วิธีวิเคราะห์และชักตัวอย่าง 10.1 วิธีชักตัวอย่าง 10.1.1 วิธีชักตัวอย่างข้าวไทยส าหรับการตรวจวิเคราะห์ตามรายการในข้อ 10.2 ให้เป็นไปตาม ภาคผนวก ค 10.1.2 วิธีชักตัวอย่างที่จ าเป็นนอกเหนือจากที่ระบุ ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือข้อก าหนดของ มาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง 11 มกษ. 4004-2560 10.2 วิธีวิเคราะห์ 10.2.1 ให้เป็นไปตามวิธีที่ก าหนดในตารางที่ 5 10.2.2 วิธีวิเคราะห์ที่จ าเป็นนอกเหนือจากที่ระบุ ให้เป็นไปตามกฎหมาย หรือข้อก าหนดของมาตรฐาน สินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 5 วิธีวิเคราะห์ (ข้อ 10.2) ข้อก าหนด วิธีวิเคราะห์ หลักการ 1. ปริมาณแอมิโลส (ข้อ 3.2) ภาคผนวก ง.1 สเปกโทรโฟโตเมตรี (spectrophotometry) 2. ปริมาณความชื้น (ข้อ 4.2.1 ก) และข้อ 4.2.2 ข)) ภาคผนวก ง.2 และ/ หรือ ภาคผนวก ง.3 แกรวิเมตรี (gravimetry) และ/หรืออิ เล็กทรอเมตรี (electrometry) 3. วัตถุอื่นปนในข้าวเปลือก (ข้อ 4.2.1 ค) และข้อ 4.2.1 ง)) ภาคผนวก ง.4 แกรวิเมตรี (gravimetry) 4. คุณภาพการขัดสีข้าว (ข้อ 4.2.1 ข)) ภาคผนวก ง.5 แกรวิเมตรี (gravimetry) 5. ค่าการสลายเมล็ดข้าวในด่าง (ส าหรับกลุ่มข้าวเจ้านุ่มและ กลุ่มข้าวเหนียว) (ข้อ 3.2) ภาคผนวก ง.6 การสลายของเมล็ดข้าวในด่าง 6. ปริมาณข้าวเจ้าร่วนและข้าวเจ้าแข็ง ในข้าวเจ้านุ่ม หรือปริมาณข้าวอื่นปน (ข้อ 3.2) ภาคผนวก ง.7 และ/ หรือ ภาคผนวก ง.8 ปฏิกิริยาที่ท าให้เกิดสี (colour reaction) และ/หรือ การท าให้สุก (cooking) 12 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ก ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของข้าวไทย (ข้อ 3.2) ตัวอย่างพันธุ์ข้าวของสินค้าข้าวไทย ในกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม กลุ่มข้าวเจ้าร่วน กลุ่มข้าวเจ้าแข็ง และกลุ่มข้าวเหนียวและลักษณะประจ าพันธุ์ มีรายละเอียด ตามตารางที่ ก.1, ก.2, ก.3 และ ก.4 ตารางที่ ก.1 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์ข้าวและลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว กข21 กข39 กข43 กข51 กข53 กข59 พิษณุโลก 80 เจ้าขาว เชียงใหม่ เจ้าลีซอ เจ้าฮ่อ ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) 17.0 ถึง 20.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 ความไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟางกระน้ าตาล ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.3 ถึง 11.1 9.8 ถึง 11.6 10.0 ถึง 11.8 9.8 ถึง 11.6 9.4 ถึง 11.2 9.8 ถึง 11.6 9.2 ถึง 11.0 9.1 ถึง 10.9 9.1 ถึง 10.9 9.0 ถึง 10.8 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 6.7 ถึง 7.9 7.4 ถึง 8.6 6.9 ถึง 8.1 7.3 ถึง 8.5 6.9 ถึง 8.1 7.4 ถึง 8.6 6.8 ถึง 8.0 7.1 ถึง 8.3 6.7 ถึง 7.9 6.8 ถึง 8.0 อัตราส่วนความยาวต่อ ความกว้างของเมล็ดข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 3.8:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.1:1 ถึง 4.2:1 3.1:1 ถึง 4.2:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 2.7:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.1:1 ถึง 4.2:1 2.1:1 ถึง 3.0:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.0 ถึง 3.0 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.2 Chunk 8: ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 3.1 ถึง 3.9 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.1 ถึง 3.1 2.0 ถึง 3.0 ระดับค่าการสลายเมล็ด ในด่าง 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 6.0 ถึง 7.0 13 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.2 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าร่วน ลักษณะประจ า พันธุ์ พันธุ์ข้าว กข23 กข37 กข55 กข63 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 60 พิษณุโลก 3 ขาวตาแห้ง 17 ช่อลุง 97 ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก) 23.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 22.0 ถึง 23.0 23.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 ความไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไม่ไวต่อ ช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.0 ถึง 10.8 9.7 ถึง 11.5 9.6 ถึง 11.4 7.6 ถึง 9.4 9.0 ถึง 10.8 9.2 ถึง 11.6 9.1 ถึง 10.9 9.1 ถึง 10.9 9.3 ถึง 11.1 ความยาวเมล็ดข้าว กล้อง (มิลลิเมตร) 6.7 ถึง 7.9 7.3 ถึง 8.5 6.9 ถึง 8.1 5.6 ถึง 6.8 6.7 ถึง 7.9 6.3 ถึง 8.7 6.8 ถึง 8.0 6.9 ถึง 8.1 6.5 ถึง 7.7 อัตราส่วนความยาว ต่อความกว้างของ เมล็ดข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 3.6:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 4.3:1 2.1:1 ถึง 3.0:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 น้ าหนักของ ข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.1 ถึง 3.1 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.0 ถึง 3.5 2.1 ถึง 3.1 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 14 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.3 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าแข็ง (1/3) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 กข27 กข29 กข31 (ปทุมธานี 80) กข35 (รังสิต 80) ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก) 26.0 ถึง 27.0 26.0 ถึง 28.0 26.0 ถึง 28.0 มากกว่า 25 24.0 ถึง 29.0 26.6 ถึง 29.4 27.0 ถึง 30.0 27.0 ถึง 29.0 ความไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.6 ถึง 12.0 9.5 ถึง 11.3 8.9 ถึง 11.1 9.8 ถึง 11.6 9.4 ถึง 11.2 8.6 ถึง 10.4 9.5 ถึง 11.3 9.2 ถึง 11.0 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 6.8 ถึง 8.6 7.3 ถึง 8.5 6.6 ถึง 8.0 6.9 ถึง 8.1 6.9 ถึง 8.1 6.7 ถึง 7.9 6.8 ถึง 8.0 6.8 ถึง 8.0 อัตราส่วนความยาว ต่อความกว้างของ เมล็ดข้าวกล้อง 3.2:1 ถึง 4.1:1 3.5:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 3.6:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.1 ถึง 3.1 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.1 ถึง 3.1 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 15 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.3 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าแข็ง (2/3) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว กข41 กข47 กข Chunk 9: 49 กข57 กข61 เจ๊กเชย 1 เหลืองประทิว 123 ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) มากกว่า 25 26.0 ถึง 28.0 มากกว่า 25 มากกว่า 25 มากกว่า 25 มากกว่า 25 29.0 ถึง 32.0 ความไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง เหลือง ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.5 ถึง 11.3 9.5 ถึง 11.3 9.5 ถึง 11.3 9.5 ถึง 11.3 9.6 ถึง 11.4 9.4 ถึง 11.2 9.2 ถึง 11.0 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 7.1 ถึง 8.3 7.3 ถึง 8.5 7.5 ถึง 8.7 6.8 ถึง 8.0 7.5 ถึง 8.7 7.1 ถึง 8.3 7.2 ถึง 8.4 อัตราส่วนความยาวต่อ ความกว้างของเมล็ด ข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.2:1 ถึง 4.4:1 3.1:1 ถึง 4.3:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.3:1 3.1:1 ถึง 4.3:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.5 ถึง 3.2 2.5 ถึง 3.2 2.6 ถึง 3.3 2.5 ถึง 3.2 2.5 ถึง 3.2 16 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.3 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าแข็ง (3/3) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว ขาวบ้านนา 432 พลายงามปราจีนบุรี ปราจีนบุรี 1 ปราจีนบุรี 2 อยุธยา 1 เฉี ยงพัทลุง เล็บนกปัตตานี ปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) 26.0 ถึง 28.0 26.0 ถึง 28.0 26.0 ถึง 27.0 มากกว่า 25 มากกว่า 25 มากกว่า 25 มากกว่า 25 ความไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีของข้าวเปลือก ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟาง ฟางก้นจุด ความยาวเมล็ด ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 10.1 ถึง 11.9 9.7 ถึง 11.5 9.7 ถึง 11.5 9.3 ถึง 11.1 10.3 ถึง 12.1 8.9 ถึง 10.7 7.5 ถึง 9.3 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 7.4 ถึง 8.6 6.9 ถึง 8.1 6.8 ถึง 8.0 6.6 ถึง 7.8 7.1 ถึง 8.3 6.1 ถึง 7.3 5.4 ถึง 6.6 อัตราส่วนความยาวต่อ ความกว้างของเมล็ด ข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 3.7:1 3.1:1 ถึง 3.7:1 3.1:1 ถึง 3.7:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 3.8:1 2.3:1 ถึง 3.0:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.1 ถึง 3.1 2.3 ถึง 3.3 1.9 ถึง 2.9 1.9 ถึง 2.9 17 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ก.4 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเหนียว (1/2) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว กข10 กข12 (หนองคาย 80) กข14 แพร่ 1 สันป่าตอง 1 ความไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง สีข้าวเปลือก ฟาง น้ าตาล ฟางขีดน้ าตาล น้ าตาล ฟาง ความยาวเมล็ดข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.9 ถึง 11.7 9.4 ถึง 11.2 9.7 ถึง 11.5 9.6 ถึง 11.4 9.5 ถึง 11.3 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 7.0 ถึง 8.2 6.6 ถึง 7.8 6.9 ถึง 8.1 6.8 ถึง 8.0 6.5 ถึง 7.7 อัตราส่วนความยาวต่อความกว้างของ เมล็ดข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 2.4:1 ถึง 3.0:1 3.1:1 ถึง 3.7:1 3.1:1 ถึง 3.8:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.3 ถึง 3.3 2.2 ถึง 3.2 2.1 ถึง 3.1 2.2 ถึง 3.2 2.3 ถึง 3.3 ตารางที่ ก.4 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเหนียว (2/2) ลักษณะประจ าพันธุ์ พันธุ์ข้าว เห Chunk 10: นียวอุบล 1 เหนียวอุบล 2 เหนียวสันป่าตอง เขี ยวงู 8974 หางยี 71 ซิวแม่จัน ความไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง ไวต่อช่วงแสง สีข้าวเปลือก ฟาง น้ าตาล น้ าตาล ฟาง น้ าตาล ฟางก้นจุดม่วง ความยาวเมล็ดข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) 9.5 ถึง 11.3 9.3 ถึง 11.1 9.5 ถึง 11.3 9.8 ถึง 11.6 9.3 ถึง 11.1 9.9 ถึง 11.7 ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) 6.6 ถึง 7.8 6.6 ถึง 7.8 6.6 ถึง 7.8 6.7 ถึง 7.9 6.5 ถึง 7.7 6.8 ถึง 8.0 อัตราส่วนความยาวต่อความกว้าง ของเมล็ดข้าวกล้อง 3.1:1 ถึง 3.8:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.3:1 ถึง 4.5:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) 2.2 ถึง 3.2 2.2 ถึง 3.2 2.3 ถึง 3.3 2.1 ถึง 3.1 2.2 ถึง 3.2 2.3 ถึง 3.3 18 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ข การแบ่งชั นคุณภาพข้าวขาวไทย ข้าวกล้องไทย และข้าวเหนียวขาวไทย ข้อก าหนดส่วนผสม ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ และระดับการขัดสีของข้าวขาวแต่ละชั นคุณภาพ2/ (ข้อ 4.3.2) ข.1 นิยาม (ใช้ในภาคผนวก ข ของมาตรฐานนี้) ข.1.1 ปลายข้าวซีวัน (small brokens C1) หมายถึง เมล็ดข้าวหักขนาดเล็กที่ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 7 ข.1.2 ข้าวเมล็ดขัดสีต่ ากว่ามาตรฐาน (undermilled kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่ผ่านการขัดสีต่ ากว่า ระดับการขัดสีที่ก าหนดไว้ส าหรับข้าวแต่ละชนิด ข.1.3 ตะแกรงเบอร์ 7 (sieve No.7) หมายถึง ตะแกรงโลหะรูกลม หนา 0.79 mm (0.031 นิ้ว) และเส้นผ่านศูนย์กลางรู 1.75 mm (0.069 นิ้ว) ข.1.4 เมล็ดพืชอื่น (other seeds) หมายถึง เมล็ดพืชอื่นๆ ที่มิใช่เมล็ดข้าว ข.1.5 ระดับการขัดสี (milling degree) หมายถึง ระดับของการขัดสีข้าว ให้แบ่งระดับการขัดสีออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ (1) สีดีพิเศษ (extra well milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกเกือบทั้งหมดจนเมล็ดข้าว มีลักษณะสวยงามเป็นพิเศษ (2) สีดี (well milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกเกือบทั้งหมดจนเมล็ดข้าวมีลักษณะ สวยงามดี (3) สีดีปานกลาง (reasonably well milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกเป็นส่วนมากจนเมล็ดข้าว มีลักษณะสวยงามพอสมควร (4) สีธรรมดา (ordinarily milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกแต่เพียงบางส่วน ข.1.6 พื้นข้าว (rice classification) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีขนาดความยาวระดับต่างๆ ตามที่ก าหนด ซึ่งเป็นส่วนผสมของข้าวแต่ละชั้นตามอัตราส่วนที่ก าหนด 2/ ที่มา : ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง มาตรฐานสินค้าข้าว พ.ศ.2559 19 มกษ. 4004-2560 ข.2 ชั นของข้าวไทย ชั้นของข้าวไทยตามข้อ ข.1.6 แบ่งตามความยาวของข้าวขาวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหัก เป็น 4 ชั้น ดังนี้ (1) ข้าวเมล็ดยาว ชั้น 1 (long grain class 1) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาด ความยาวเกิน 7.0 mm (2) ข้าวเมล็ดยาว ชั้น 2 (long grain class 2) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาด ความยาวเกิน 6.6 mm ถึง 7.0 mm (3) ข้าวเมล็ดยาว ชั้น 3 (long grain class 3) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาด ความยาวเกิน 6.2 mm ถึง 6.6 mm (4) ข้าวเมล็ดสั้น (short grain) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาดความยาวไม่เกิน 6.2 mm ข.3 ชั นคุณภาพ ข.3.1 ข้าวไทยประเภทข้าวขาว แบ่งเป็น 12 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ (1) ข้าวขาว 100% ชั้น 1 (2) ข้าวขาว 100% ชั้น 2 (3) ข้าวขาว 100% ชั้น 3 (4) ข้าวขาว 5% (5) ข้าวขาว 10% (6) Chunk 11: ข้าวขาว 15% (7) ข้าวขาว 25% เลิศ (8) ข้าวขาว 25% (9) ข้าวขาว 35% (10) ข้าวขาว 45% (11) ข้าวขาวหักเอวันเลิศพิเศษ (12) ข้าวขาวหักเอวันเลิศ 20 มกษ. 4004-2560 ข.3.2 ข้าวไทยประเภทข้าวกล้อง แบ่งเป็น 6 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ (1) ข้าวกล้อง 100% ชั้น 1 (2) ข้าวกล้อง 100% ชั้น 2 (3) ข้าวกล้อง 100% ชั้น 3 (4) ข้าวกล้อง 5% (5) ข้าวกล้อง 10% (6) ข้าวกล้อง 15% ข.3.3 ข้าวไทยประเภทข้าวเหนียว แบ่งเป็น 3 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ (1) ข้าวเหนียว 10% (2) ข้าวเหนียว 25% (3) ข้าวเหนียวขาวหักเอวัน ข.4 ข้อก าหนดส่วนผสมข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ และระดับการขัดสีของข้าวขาว และข้าวเหนียวขาว ส าหรับข้าวไทยแต่ละชั นคุณภาพ ให้เป็นไปตามที่ก าหนดในตารางที่ ข.1, ข.2, ข.3, ข.4 และ ข.5 21 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.1 มาตรฐานข้าวขาวของข้าวไทย ชั น คุณภาพ ข้าวขาว พื นข้าว (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วน ของ ต้นข้าว ส่วนของข้าวหัก ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ ระดับ การขัดสี เมล็ดยาว เมล็ดสั น (ไม่เกิน 6.2 mm) ข้าวเต็ม เมล็ด ต้นข้าว ข้าวหักและปลายข้าว C1 ข้าวเมล็ดแดง และ/หรือ ข้าว เมล็ดขัดสี ต่ ากว่า มาตรฐาน (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) เมล็ดเหลือง (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) เมล็ดท้องไข่ (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) เมล็ดเสีย (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) ข้าว เหนียว (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) เมล็ดลีบ เมล็ดอ่อน เมล็ดพืชอื่น วัตถุอื่น (เปอร์เซ็นต์ โดยน าหนัก) ข้าว เปลือก (เมล็ด /กก.) ชั น 1 (เกิน 7.0 mm) ชั น 2 (เกิน 6.6 ถึง 7.0 mm) ชั น 3 (เกิน 6.2 ถึง 6.6 mm) รวม ข้าวหักที่มี ความยาว ต่ ากว่า ก าหนด และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ปลายข้าว C1 100% ชั้น 1 70.0 ส่วนที่ เหลือ 5.0 0 60.0 ส่วนที่เหลือ 4.0 0.1 0.1 8.0 5.0 ถึง 8.0 0.5 0.1 3.0 0.2 1.5 0.1 3 สีดีพิเศษ 100% ชั้น 2 40.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 60.0 ส่วนที่เหลือ 4.5 0.5 0.1 8.0 5.0 ถึง 8.0 0.5 0.2 6.0 0.25 1.5 0.2  5 สีดีพิเศษ 100% ชั้น 3 30.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 60.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 0.5 0.1 8.0 5.0 ถึง 8.0 0.5 0.2 6.0 0.25 1.5 0.2 5 สีดีพิเศษ 5% 20.0 ส่วนที่เหลือ 10.0 60.0 ส่วนที่เหลือ 7.0 0.5 0.1 7.5 3.5 ถึง 7.5 2.0 0.5 6.0 0.25 1.5 0.3 8 สีดี 10% 10.0 ส่วนที่เหลือ 15.0 55.0 ส่วนที่เหลือ 12.0 0.7 0.3 7.0 3.5 ถึง 7.0 2.0 1.0 7.0 0.5 1.5 0.4 13 สีดี 15% 5.0 ส่วนที่เหลือ 30.0 55.0 ส่วนที่เหลือ 17.0 2.0 0.5 6.5 3.0 ถึง 6.5 5.0 1.0 7.0 1.0 2.0 0.4 13 สีดีปาน กลาง 25% เลิศ 50.0 50.0 40.0 ส่วนที่เหลือ 28.0 ส่วนที่เหลือ 1.0 5.0 5.0 5.0 1.0 7.0 1.0 2.0 1.0 15 สีดีปาน กลาง 25% 50.0 50.0 40.0 ส่วนที่เหลือ 28.0 ส่วนที่เหลือ 2.0 5.0 5.0 7.0 1.0 8.0 2.0 2.0 2.0 20 สีธรรมดา แต่ไม่เกิน สีดีปานกลาง 35% 50.0 50.0 32.0 ส่วนที่เหลือ 40.0 ส่วนที่เหลือ 2.0 5.0 5.0 7.0 1.0 10.0 2.0 2.0 2.0 20 สีธรรมดา แต่ไม่เกิน สีดีปานกลาง 45% 50.0 50.0 28.0 ส่วนที่เหลือ 50.0 ส่วนที่เหลือ 3.0 5.0 5.0 7.0 1.0 10.0 2.0 2.0 2.0 20 สีธรรมดา แต่ไม Chunk 12: ่เกิน สีดีปานกลาง 22 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.2 มาตรฐานข้าวขาวหักของข้าวไทย ชนิดข้าวหัก พื นข้าวที่ได้ จากการขัดสี ข้าวขาว ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเต็มเมล็ด (>7 mm) ข้าวเต็มเมล็ด รวมกับข้าวหัก ที่มีความยาว >6.5 ส่วน ข้าวหักที่มี ความยาว >5.0 ส่วน ข้าวหักที่มี ความยาว <6.5 ส่วน และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ข้าวหักที่มี ความยาว <5.0 ส่วน และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ปลายข้าว C1 ข้าวเหนียวขาว วัตถุอื่น ทั งหมด (รวมปลายข้าว C1) ปลายข้าว C1 เอวันเลิศพิเศษ 100% 15 74.0 10.0 1.0 1.5 0.5 0.5 เอวันเลิศ 100%, 5%, 10% 15.0 80.0 5.0 1.5 0.5 0.5 23 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.3 มาตรฐานข้าวกล้องของข้าวไทย ชั นคุณภาพ ข้าวกล้อง พื นข้าว (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วน ของ ต้น ข้าว ส่วนของ ข้าวหัก ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) เมล็ดยาว เมล็ดสั น (ไม่เกิน 6.2 mm) ข้าว เต็ม เมล็ด ต้นข้าว ข้าวหัก ข้าว เมล็ดแดง เมล็ดเหลือง เมล็ดท้องไข่ เมล็ดเสีย ข้าว เหนียว เมล็ดลีบ เมล็ดอ่อน เมล็ดพืชอื่น วัตถุอื่น ข้าว เปลือก ชั น 1 (เกิน 7.0 mm) ชั น 2 และหรือ ชั น 3 (เกิน 6.2 ถึง 7.0 mm) 100% ชั้น 1 70.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 80.0 ส่วนที่เหลือ 4.0 8.0 5.0 ถึง 8.0 1.0 0.50 3.0 0.50 1.5 3.0 0.5 100% ชั้น 2 55.0 ส่วนที่เหลือ 6.0 80.0 ส่วนที่เหลือ 4.5 8.0 5.0 ถึง 8.0 1.5 0.75 6.0 0.75 1.5 5.0 1.0 100% ชั้น 3 40.0 ส่วนที่เหลือ 7.0 80.0 ส่วนที่เหลือ 5.0 8.0 5.0 ถึง 8.0 2.0 0.75 6.0 0.75 1.5 5.0 1.0 5% 30.0 ส่วนที่เหลือ 10.0 75.0 ส่วนที่เหลือ 7.0 7.5 3.5 ถึง 7.5 2.0 1.0 6.0 1.0 1.5 6.0 1.0 10% 20.0 ส่วนที่เหลือ 15.0 70.0 ส่วนที่เหลือ 12.0 7.0 3.5 ถึง 7.0 2.0 1.0 7.0 1.0 1.5 7.0 2.0 15% 10.0 ส่วนที่เหลือ 35.0 65.0 ส่วนที่เหลือ 17.0 6.5 3.0 ถึง 6.5 5.0 1.0 7.0 1.5 2.5 8.0 2.0 24 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.4 มาตรฐานข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย ชั นคุณภาพ ข้าวเหนียวขาว ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ส่วน ของ ต้นข้าว ส่วนของ ข้าวหัก ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ระดับ การขัดสี ข้าวเต็ม เมล็ด ต้นข้าว ข้าวหักและปลายข้าว C1 ข้าวเจ้า ข้าวเมล็ด แดง หรือ ข้าวเมล็ด ขัดสี ต่ ากว่า มาตรฐาน เมล็ด เหลือง เมล็ด เสีย เมล็ดลีบ เมล็ดอ่อน เมล็ดพืชอื่น วัตถุอื่น ข้าวเปลือก (เมล็ด/ กก.) รวม ข้าวหักที่มี ความยาว ต่ ากว่าก าหนด และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ปลายข้าว C1 10% ≥55.0 ส่วนที่เหลือ ≤12.0 ≤0.7 ≤0.3 ≥7.0 ≥3.5 ถึง 7.0 ≤15.0 ≤2.0 ≤1.5 ≤0.5 ≤0.5 ≤10 สีดี 25% ≥40.0 ส่วนที่เหลือ ≤28.0 ส่วนที่เหลือ ≤2.0 ≥5.0 ≤5.0 ≤15.0 ≤6.0 ≤4.0 ≤2.0 ≤3.0 ≤20 สี ธรรมดา 25 มกษ. 4004-2560 ตารางที่ ข.5 มาตรฐานข้าวเหนียวขาวหักของข้าวไทย ชั นคุณภาพ ข้าวเหนียวหัก พื นข้าวที่ได้ จากการขัดสี ข้าวเหนียวขาว ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) ข้าวเหนียว เต็มเมล็ด ข้าวเหนียว เต็มเมล็ด รวมกับ Chunk 13: ข้าวหักที่มี ความยาว >6.5 ส่วน ข้าวหักที่มี ความยาว >5.0 ส่วน ข้าวหักที่มี ความยาว <6.5 ส่วน และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ข้าวหักที่มี ความยาว <5.0 ส่วน และไม่ผ่าน ตะแกรง เบอร์ 7 ปลายข้าว เหนียวขาว C1 ข้าวขาว วัตถุอื่น ทั งหมด (รวมปลายข้าว C1) ปลายข้าวขาว C1 เอวัน 10%, 25% 15.0 80.0 5.0 15 5.0 0.5 26 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ค การชักตัวอย่าง (ข้อ 10.1) ค.1 นิยาม ค.1.1 รุ่น (lot) หมายถึง สินค้าที่ส่งมอบมาพร้อมกันในแต่ละครั้ง และตั้งสมมติฐานว่ามีคุณลักษณะ เหมือนกัน เช่น แหล่งก าเนิด ชนิด การบรรจุ ตัวแทนบรรจุ ผู้ส่งมอบ ค.1.2 ตัวอย่างขั้นต้น (primary sample) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการชักตัวอย่างจากต าแหน่งใด ต าแหน่งหนึ่งในรุ่น โดยจ านวนต าแหน่งที่เก็บตัวอย่างขั้นต้นในแต่ละรุ่น ค านวณตามค าแนะน า ในตารางที่ ค.1 และตารางที่ ค.2 ค.1.3 ตัวอย่างรวม (aggregate sample หรือ composite sample) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการรวม ตัวอย่างขั้นต้นในแต่ละรุ่น ค.1.4 ตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ (laboratory sample) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการลดปริมาณตัวอย่าง จากตัวอย่างรวมที่ผสมกันเป็นอย่างดีในแต่ละรุ่นลงอย่างเหมาะสมเพียงพอส าหรับการวิเคราะห์ หรือตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ ค.2 ขั นตอนการปฏิบัติ การชักตัวอย่างสินค้าข้าว ควรด าเนินการเพื่อให้ได้ตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของรุ่นมากที่สุดเท่าที่ จะปฏิบัติได้ โดยชักตัวอย่างขั้นต้นในจ านวนต าแหน่ง ตามความถี่การชักตัวอย่างที่ค านวณได้ และพยายามให้ต าแหน่งกระจายทั่วถึงทั้งรุ่น น าตัวอย่างขั้นต้นที่ได้ทั้งหมดมารวมกัน ผสมให้ เข้ากันดีเป็นตัวอย่างรวม และน าตัวอย่างรวมมาลดปริมาณลงจนเหลือน้ าหนักสองเท่าของ ตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการที่ก าหนด แบ่งตัวอย่างดังกล่าวเป็นสองส่วน บรรจุในถุงปิดสนิทเพื่อ ส่งห้องปฏิบัติการ และเก็บตัวอย่างอีกส่วนที่เหลือไว้เพื่อใช้ในการทวนสอบ กรณีเกิดปัญหา ค.2.1 การชักตัวอย่างสินค้าที่บรรจุในหีบห่อ การระบุความถี่ในการชักตัวอย่างขั้นต้นจากสินค้าในรุ่นที่บรรจุในหีบห่อ ให้ใช้สูตรค านวณ เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดความถี่ในการชักตัวอย่างขั้นต้นต่อรุ่น F(n) ดังนี้ F(n) = mBmI mAmp 27 มกษ. 4004-2560 F(n) คือ ความถี่ในการชักตัวอย่าง ทุกๆ n ถุง เพื่อท าการเก็บตัวอย่างขั้นต้น n คือ จ านวนของหน่วยบรรจุต่อการชักตัวอย่างแต่ละครั้ง mB คือ น้ าหนักของรุ่นสินค้า หน่วยเป็นกิโลกรัม mI คือ น้ าหนักของตัวอย่างขั้นต้น ก าหนด 0.1 kg mA คือ น้ าหนักของตัวอย่างรวม หน่วยเป็นกิโลกรัมโดยทั่วไปใช้ประมาณ 3 kg mp คือ น้ าหนักบรรจุในแต่ละหีบห่อ หน่วยเป็นกิโลกรัม ตารางที่ ค.1 ตัวอย่างของความถี่ในการชักตัวอย่างขั นต้นของสินค้าที่บรรจุในหีบห่อ เพื่อหาตัวแทนไปทดสอบในห้องปฏิบัติการ โดยตัวอย่างที่ชักมีขนาดรุ่นที่ 25, 50 และ 100 ตัน และก าหนดน าหนักตัวอย่างขั นต้น 0.1 kg (ข้อ ค.1.2 และ ค.2.1) น าหนักรุ่นสินค้า (กิโลกรัม) น าหนักต่อหน่วยบรรจุ (กิโลกรัม) ความถี่ในการชักตัวอย่างขั นต้น (เก็บตัวอย่างจากทุกๆ n ถุง) 25,000 1 833 25,000 5 167 25,000 25 33 25,000 40 21 25,000 50 17 50,000 1 1,667 50,000 5 333 50,000 25 67 50,000 40 42 50,000 50 33 100,000 1 3,333 100,000 5 667 100,000 25 133 100,000 40 83 100,000 50 67 หมายเหตุ สามารถชักตัวอย่างขั้นต้นเพิ่มเติมได้ในกรณีที่จ้านวนตัวอย่างรวมมีน้าหนักไม่เพียงพอ หรือไม่ถึง 3 k Chunk 14: g หรือไม่พอส้าหรับการวิเคราะห์หรือตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ 28 มกษ. 4004-2560 ค.2.2 การชักตัวอย่างสินค้าจากกอง การตัดสินจ านวนตัวอย่างที่ชักเพื่อไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ จะอยู่ภายใต้ข้อตกลงระหว่าง ผู้เกี่ยวข้อง โดยปริมาณและขนาดของตัวอย่างขั้นต้นแสดงในตารางที่ ค.2 โดยหากน้ าหนักของ ตัวอย่างที่จะส่งห้องปฏิบัติการไม่เป็นไปตามนี้ จ านวนของตัวอย่างขั้นต้นที่ชักจะเพิ่มขึ้น ตารางที่ ค.2 จ านวนจุดชักตัวอย่างขั นต้นส าหรับสินค้าข้าวเป็นกองขนาดใหญ่ (เช่น รถบรรทุก เรือ ตู้รถไฟ โกดังสินค้า) (ข้อ ค.1.2 และ ค.2.2) น าหนักต่อรุ่น (ตัน) น าหนัก ตัวอย่าง ขั นต้น (กรัม) จ านวนจุด ที่ชักตัวอย่าง ขั นต้น (จุด) ปริมาณน้อยที่สุด ที่ใช้ส่งห้องปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อน (กิโลกรัม) ปริมาณตัวอย่าง ที่น้อยที่สุดที่ส่ง ห้องปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะห์อื่นๆ (กิโลกรัม) < 15 400-3,000 3 - อะฟลาทอกซิน: 10 - สารพิษตกค้าง โลหะหนัก และไดออกซิน: 1 - สารปนเปื้อน: 3 1-3 ตามข้อก าหนดใน การวิเคราะห์ >15-30 8 >30-45 11 >45-100 15 >100-300 18 >300-500 20 >500-1,500 25 ค.2.3 การใช้เครื่องมือชักตัวอย่าง วิธีชักตัวอย่าง และวิธีการลดปริมาณตัวอย่างรวม รายละเอียดข้อแนะน าการใช้เครื่องมือชักตัวอย่าง วิธีชักตัวอย่าง และวิธีการลดปริมาณตัวอย่างรวม เพื่อให้ได้ตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ ให้ใช้แนวทางตาม ISO 24333:2009 Cereals and cereal product-Sampling 29 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ง วิธีวิเคราะห์ (ข้อ 10.2) ง.1 การวิเคราะห์ปริมาณแอมิโลส ง.1.1 เครื่องมือ ง.1.1.1 สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ (spectrophotometer) ง.1.1.2 เครื่องชั่ง ที่ชั่งได้ละเอียดถึง 0.0001 g ง.1.1.3 เครื่องปั่นกวนระบบแม่เหล็ก (magnetic stirrer) พร้อมแท่งแม่เหล็ก ง.1.1.4 เครื่องบดเมล็ดข้าวที่บดให้ละเอียดได้ถึง 80 mesh ถึง 100 mesh ง.1.1.5 ขวดแก้วปริมาตร (volumetric flask) ขนาดความจุ 100 ml ง.1.1.6 ปิเปต แบบ volumetric pipette ขนาดความจุ 1 ml, 2 ml, 3 ml, 4 ml, และ 5 ml ง.1.1.7 ปิเปต แบบ measuring pipette ขนาดความจุ 1 ml ถึง 10 ml ง.1.2 สารเคมี ง.1.2.1 เอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol: C2H5OH) 95% ง.1.2.2 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (sodium hydroxide: NaOH) ง.1.2.3 กรดเกลเชียลแอซีติก (glacial acetic acid: CH3COOH) ง.1.2.4 ไอโอดีน (iodine) ง.1.2.5 โพแทสเซียมไอโอไดด์ (potassium iodide: KI) ง.1.2.6 แอมิโลส (potato amylose) มีความบริสุทธิ์ไม่น้อยกว่า 95% ง.1.3 วิธีการเตรียมสารละลาย ง.1.3.1 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 2 N ชั่งโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามข้อ ง.1.2.2 จ านวน 80.0 g ละลายในน้ ากลั่นประมาณ 800 ml ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 1,000 ml ทิ้งไว้ให้เย็น แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 1,000 ml 30 มกษ. 4004-2560 ง.1.3.2 สารละลายกรดแอซีติกเข้มข้น 1 N ละลายกรดเกลเชียลแอซีติกตามข้อ ง.1.2.3 ปริมาตร 60 ml ใส่ลงในน้ ากลั่นประมาณ 800 ml ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 1,000 ml ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 1,000 ml ง.1.3.3 สารละลายไอโอดีน ชั่งไอโอดีนตามข้อ ง.1.2.4 จ านวน 0.20 g และโพแทสเซียมไอโอไดด์ตามข้อ ง.1.2.5 จ านวน 2.00 g ละลายในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml ในขวดแก้วปริมาตรสีชาขนาดความจุ 100 ml ทิ้งไว้ข้ามคืนในที่มืด หรือจนไอโอดีนละลายหมด ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml เก็บสารละลายนี้ไว้ในขวดสีชา ง.1.4 วิธี Chunk 15: วิเคราะห์ ง.1.4.1 บดเมล็ดข้าวขาวด้วยเครื่องบดตามข้อ ง.1.1.4 ให้เป็นแป้ง ชั่งแป้งมา 0.1000 + 0.0005 g ใส่ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ตามข้อ ง.1.1.5 ที่แห้งสนิท พยายามไม่ให้แป้ง ติดบริเวณคอขวดแก้ว ง.1.4.2 เติมเอทิลแอลกอฮอล์ 95% ตามข้อ ง.1.2.1 ปริมาตร 1 ml เขย่าเบาๆ เพื่อเกลี่ยแป้งให้ กระจายออก ง.1.4.3 เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามข้อ 3.1 ปริมาตร 9 ml ง.1.4.4 ใส่แท่งแม่เหล็กลงในขวดแก้ว ปั่นกวนตัวอย่างด้วยเครื่องปั่นกวนระบบแม่เหล็ก นาน 10 min ให้เป็นน้ าแป้ง จากนั้นน าแท่งแม่เหล็กออกจากขวดแก้ว แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml ปิดจุก เขย่าให้เข้ากัน ง.1.4.5 เตรียมขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ชุดใหม่ เติมน้ ากลั่นประมาณ 70 ml เติมสารละลาย กรดแอซีติก ตามข้อ ง.1.3.2 ปริมาตร 2 ml และสารละลายไอโอดีน ตามข้อ ง.1.3.3 ปริมาตร 2 ml ง.1.4.6 ดูดน้ าแป้งตามข้อ ง.1.4.4 ปริมาตร 5 ml ใส่ในขวดแก้วปริมาตรที่เตรียมไว้ตามข้อ ง.1.4.5 ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml ปิดจุก เขย่าให้เข้ากัน แล้วตั้งทิ้งไว้ 10 min ง.1.4.7 วัดความเข้มของสีของสารละลายตามข้อ ง.1.4.6 ด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ โดยอ่านเป็น ค่าการดูดกลืนแสง (absorbance) ที่ความยาวคลื่นแสง 620 nm หลังปรับเครื่องด้วย blank ให้ได้ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับศูนย์ ง.1.4.8 ท า blank โดยเติมสารละลายกรดแอซีติกตามข้อ ง.1.3.2 ปริมาตร 2 ml และสารละลาย ไอโอดีน ตามข้อ ง.1.3.3 ปริมาตร 2 ml ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml ง.1.4.9 น าค่าการดูดกลืนแสง ไปหาปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) โดยเทียบกับกราฟมาตรฐาน ที่เตรียมไว้ตาม ข้อ ง.1.5 31 มกษ. 4004-2560 ง.1.4.10 ปรับปริมาณแอมิโลสในแป้งข้าวที่วิเคราะห์ได้ให้เป็นที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก จากสูตร ปริมาณแอมิโลสในแป้งข้าวที่ความชื้น 14% โดยน้ าหนัก = A x 86 100 – M เมื่อ A = ปริมาณแอมิโลสในแป้งข้าวที่วิเคราะห์ได้เป็นเปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก M = ปริมาณความชื้นของแป้งข้าวที่วิเคราะห์ได้เป็นเปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก ง.1.5 การเขียนเส้นกราฟมาตรฐาน ง.1.5.1 ชั่งแอมิโลส 0.0400 g ใส่ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ตามข้อ ง.1.1.5 ที่แห้งสนิท แล้วด าเนินการเช่นเดียวกับตัวอย่างตามข้อ ง.1.4.2 ถึง ข้อ ง.1.4.4 และใช้เป็นสารละลายมาตรฐาน ง.1.5.2 เตรียมขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml จ านวน 5 ขวด เติมน้ ากลั่นขวดละ 70 ml เติมสารละลายกรดแอซีติกตามข้อ ง.1.3.2 ปริมาตร 0.4 ml ในขวดที่ 1 ปริมาตร 0.8 ml ในขวดที่ 2 ปริมาตร 1.2 ml ในขวดที่ 3 ปริมาตร 1.6 ml ในขวดที่ 4 และปริมาตร 2.0 ml ในขวดที่ 5 ตามล าดับ แล้วเติมสารละลายไอโอดีน ตามข้อ ง.1.3.3 ปริมาตร 2 ml ลงในแต่ละขวด ง.1.5.3 ดูดสารละลายมาตรฐานตามข้อ ง.1.5.1 ปริมาตร 1 ml, 2 ml, 3 ml, 4 ml และ 5 ml ซึ่งเทียบเท่าปริมาณแอมิโลส 8%, 16%, 24%, 32% และ 40% โดยน้ าหนัก ตามล าดับ ใส่ในขวด ที่เตรียมไว้ในข้อ ง.1.5.2 ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml และวัดค่าการดูดกลืนแสง ที่ความยาวคลื่นแสง 620 nm หลังปรับเครื่องด้วย blank ให้ได้ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับศูนย์ เช่นเดียวกับข้อ ง.1.4.7 ง.1.5.4 น าค่าการดูดกลืนแสงกับปริมาณแอมิโลสในสารละลายมาตรฐานตามข้อ ง.1.5.3 มาเขียนเป็น เส้นกราฟมาตรฐาน ง.1.5.5 น าเส้นกราฟมาตรฐานที่ได้ตามข้อ ง.1.5.4 มาใช้แปลงค่าการดูดกลืนแสงให้เป็นปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) ง.2 การวิเคราะห์ปริมาณความชื นด้วยการอบในตู้อบลมร้ Chunk 16: อน ง.2.1 เครื่องมือ ง.2.1.1 ตู้อบ (oven) ง.2.1.2 เครื่องชั่งที่ชั่งได้ละเอียดถึง 0.0001 g ง.2.1.3 เดซิกเคเตอร์ (desiccator) พร้อมซิลิกาเจล (siliga gel) ง.2.1.4 เครื่องบดเมล็ดข้าวที่บดให้ละเอียดได้ถึง 80 mesh ถึง 100 mesh ง.2.1.5 ถ้วยอบอะลูมิเนียมพร้อมฝาปิด ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 cm หรือมากกว่า 32 มกษ. 4004-2560 ง.2.2 วิธีวิเคราะห์ ง.2.2.1 บดเมล็ดข้าวขาวด้วยเครื่องบดตามข้อ ง.2.1.4 ให้เป็นแป้ง ง.2.2.2 เปิดฝาถ้วยอะลูมิเนียมตามข้อ ง.2.1.5 โดยเอาฝาซ้อนไว้ใต้ถ้วยแล้วน าไปอบในตู้อบตามข้อ ง.2.1.1 ที่อุณหภูมิ 130 ± 3 C เป็นเวลา 2 h ปิดฝาถ้วย แล้วทิ้งให้เย็นในเดซิกเคเตอร์ชั่งน้ าหนัก ที่แน่นอนทศนิยม 4 ต าแหน่งและบันทึกไว้ ง.2.2.3 ชั่งแป้งตามข้อ ง.2.2.1 น้ าหนักประมาณ 1 g ใส่ในถ้วยอะลูมิเนียมตามข้อ ง.2.2.2 แล้วบันทึก น้ าหนักที่แน่นอนทศนิยม 4 ต าแหน่ง ง.2.2.4 อบถ้วยแป้งตามข้อ ง.2.2.3 ในตู้อบที่อุณหภูมิ 130 ± 3 C โดยเปิดฝาไว้เป็นเวลา 2 h แล้วปิดฝา ทิ้งไว้ให้เย็นในโถดูดความชื้น ชั่งให้ได้น้ าหนักที่แน่นอนและบันทึกไว้ ง.2.2.5 ค านวณหาปริมาณความชื้น (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) จากสูตร ปริมาณความชื้น (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก)= (B - C) x 100 (B - A) เมื่อ A = น้ าหนักถ้วยอะลูมิเนียมพร้อมฝา (กรัม) B = น้ าหนักถ้วยอะลูมิเนียมพร้อมฝาและแป้งก่อนอบ (กรัม) C = น้ าหนักถ้วยอะลูมิเนียมพร้อมฝาและแป้งหลังอบ (กรัม) ง.3 การวิเคราะห์ปริมาณความชื นด้วยเครื่องวัดความชื นแบบวัดปริมาณ ความจุไฟฟ้า (Electrical Capacitance Type) ใช้เครื่องวัดความชื้นแบบวัดปริมาณความจุไฟฟ้า ที่ผ่านการรับรองจากส านักชั่งตวงวัด กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ และเป็นไปตามพระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ.2542 ง.4 การตรวจสอบวัตถุอื่นปนในข้าวเปลือก ง.4.1 เครื่องมือ ง.4.1.1 เครื่องท าความสะอาดโดยใช้ลม ง.4.1.2 ตะแกรงร่อน 33 มกษ. 4004-2560 ง.4.2 วิธีวิเคราะห์ ง.4.2.1 ชักตัวอย่างข้าวเปลือก ชั่งน้ าหนัก ประมาณ 100 g และบันทึก ง.4.2.2 น าตัวอย่างข้าวดังกล่าว ผ่านตะแกรงร่อนเพื่อแยกสิ่งเจือปนที่หนัก เช่น เศษดิน ทราย กรวด และเมล็ดที่แตกหัก ออก ง.4.2.3 น าตัวอย่างที่ผ่านตะแกรงร่อน เข้าเครื่องเป่าท าความสะอาด เพื่อแยกสิ่งเจือปนที่มีน้ าหนักเบา เช่น เศษฟาง ระแง้ และข้าวลีบ ออก ง.4.2.4 หากยังมีสิ่งเจือปนเหลืออยู่ แยกด้วยสายตาอีกครั้ง บันทึกน้ าหนักข้าวเปลือกที่สะอาดแล้ว ค านวณปริมาณสิ่งเจือปน ดังนี้ เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของสิ่งเจือปน = (น้ าหนักข้าวเปลือก+วัตถุอื่น) – น้ าหนักข้าวเปลือก x100 (น้ าหนักข้าวเปลือก+วัตถุอื่น) ง.5 การตรวจสอบคุณภาพการขัดสี (วิธีนี ใช้เฉพาะข้าวเปลือกที่มีความชื นไม่เกิน 15%) ง.5.1 เครื่องมือ ง.5.1.1 เครื่องท าความสะอาดโดยใช้ลม ง.5.1.2 เครื่องกะเทาะข้าวเปลือก ง.5.1.3 เครื่องขัดขาว ง.5.1.4 เครื่องคัดแยกข้าวหัก ง.5.2 วิธีวิเคราะห์ ง.5.2.1 ท าความสะอาดข้าวเปลือก ด้วยเครื่องท าความสะอาดโดยใช้ลม เพื่อก าจัดเมล็ดลีบ ระแง้ และวัตถุอื่น (วัตถุหนักควรเลือกออกด้วยมือ) ง.5.2.2 ชั่งข้าวเปลือกที่ท าความสะอาดแล้ว 125 g ง.5.2.3 กะเทาะข้าวเปลือกด้วยเครื่องกะเทาะ จนเปลือกออกหมด ชั่งน้ าหนักข้าวกล้อง และบันทึก ง.5.2.4 ขัดข้าวกล้องด้วยเครื่องขัดขาว วิธีการตามค าแนะน าในการใช้เครื่องแต่ละรุ่น ทิ้งข้าวขาวไว้ให้เย็น ชั่งน้ าหนัก และบันทึก ง.5. Chunk 17: 2.5 น าข้าวขาวทั้งหมดไปแยกข้าวหักออกจากข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าว ด้วยเครื่องคัดแยกข้าวหัก ง.5.2.6 เมื่อข้าวผ่านตะแกรงหมดแล้ว ต้องคัดเลือกข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าวและข้าวหักด้วยวิธีตรวจพินิจอีกครั้ง ง.5.2.7 ชั่งน้ าหนักข้าวเต็มเมล็ด/ต้นข้าว และบันทึก 34 มกษ. 4004-2560 ง.5.2.8 น าน้ าหนักข้าวเปลือก ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว ไปค านวณหาปริมาณแกลบ ร า และข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) ดังต่อไปนี้ เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของแกลบ = น้ าหนักข้าวเปลือก – น้ าหนักข้าวกล้อง X 100 น้ าหนักข้าวเปลือก เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของร า = น้ าหนักข้าวกล้อง – น้ าหนักข้าวขาว X 100 น้ าหนักข้าวเปลือก เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว = น้ าหนักข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว X 100 น้ าหนักข้าวเปลือก หมายเหตุ การใช้เครื่องกะเทาะข้าวเปลือก และเครื่องขัดขาวติดต่อกันนานๆ จะท้าให้เครื่องร้อน จึงควรพักเครื่องทุกๆ 10 ตัวอย่าง ง.6 การวิเคราะห์ค่าการสลายเมล็ดข้าวในด่าง การวิเคราะห์ค่าการสลายเมล็ดข้าวในต่าง เพื่อการตรวจสอบสินค้าข้าวเปลือกและข้าวกล้อง ต้องน าไปขัดสีเป็นข้าวขาวก่อน ง.6.1 เครื่องมือ ง.6.1.1 เครื่องชั่ง ที่ชั่งได้ละเอียดถึง 0.0001 g ง.6.1.2 ตู้อบ (oven) ง.6.1.3 ขวดแก้วปริมาตร (volumetric flask) ขนาดความจุ 1,000 ml ง.6.1.4 จานพลาสติกใสพร้อมฝาปิด (petri dish) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14.5 cm ง.6.1.5 บีกเกอร์แก้ว (beaker) ขนาด 1 L ถึง 2 L ง.6.1.6 เดซิกเคเตอร์ (desiccator) พร้อมซิลิกาเจล (silica gel) ง.6.2 สารเคมี ง.6.2.1 โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (potassium hydroxide: KOH) 85% ง.6.2.2 โพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท (potassium hydrogen phthalate: C8H5KO4) ง.6.2.3 ฟีนอล์ฟทาลีน (phenolphthalein: C20H14O4) 35 มกษ. 4004-2560 ง.6.3 การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1.7%  0.05% ง.6.3.1 การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ อาจท าได้ 2 วิธี ก) การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์โดยตรง ชั่งโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 20.00 g ละลายในน้ ากลั่นที่ผ่านการต้มให้เดือดแล้วปิดฝา ทิ้งไว้ ให้เย็น เติมน้ ากลั่นเพื่อปรับปริมาตรให้เป็น 1,000 ml ข) การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์จาก stock solution (1) ชั่งโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 600.00 g ละลายในน้ ากลั่นที่ผ่านการต้มให้เดือดแล้ว ปิดฝาทิ้งไว้ให้เย็น เติมน้ ากลั่นเพื่อปรับปริมาตรเป็น 1,000 ml เก็บไว้เป็น stock solution ส าหรับเจือจางต่อไป (2) น า stock solution จากข้อ ง.6.3.1 ข(1) ปริมาตร 33 ml มาเจือจางด้วยน้ ากลั่นให้ได้ ปริมาตร 1,000 ml ส าหรับใช้เป็นสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ง.6.3.2 การหาความเข้มข้นของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ก) อบสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลทที่อุณหภูมิ 130+3C เป็นเวลา 1 h แล้วทิ้งไว้ให้เย็น ในเดซิกเคเตอร์ ข) ชั่งสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลทตามข้อ ง.6.3.2 ก) ประมาณ 0.5 g โดยอ่านให้ได้ น้ าหนักที่แท้จริงทศนิยม 4 ต าแหน่ง และบันทึกไว้ ค) ละลายสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลทตามข้อ ง.6.3.2 ข) ในน้ ากลั่นปริมาตร 50 ml หยดสารละลายฟีนอล์ฟทาลีน เข้มข้น 0.1% ลงไป 3 หยด ไทเทรตกับสารละลายโพแทสเซียม ไฮดรอกไซด์จนสารละลายเปลี่ยนจากไม่มีสีเป็นสีชมพู และบันทึกปริมาตรของสารละลาย โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ไปเป็นมิลลิลิตร ง) ท า blank ตามวิธีการเดียวกับข้อ ง.6.3.2 ค) โดยไม่ใช้สารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท จ) ค านวณหา Chunk 18: ความเข้มข้นของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ดังนี้ เปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ = P x 56.109 x 100 204.23 V - B เมื่อ V = ปริมาตรของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ในการไทเทรตกับ โพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท (มิลลิลิตร) B = ปริมาตรของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ไทเทรตกับ blank (มิลลิลิตร) P = น้ าหนักของสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท (กรัม) 36 มกษ. 4004-2560 ง.6.4 วิธีวิเคราะห์ ง.6.4.1 ชักเมล็ดข้าวขาวมา 100 เมล็ด แบ่งใส่ในจานพลาสติกใสตามข้อ ง.6.1.4 จ านวน 4 จาน จานละ 25 เมล็ด แล้ววางบนพื้นราบสีด า ง.6.4.2 เติมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ตามข้อ ง.6.3 ลงในจานพลาสติกตามข้อ ง.6.4.1 ประมาณจานละ 100 ml ให้เมล็ดข้าวทุกเมล็ดจมอยู่ในสารละลาย และให้แต่ละเมล็ดอยู่ห่างกัน พอสมควร แล้วปิดฝาทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง (30 + 5 C) โดยไม่ขยับเขยื้อนเป็นเวลา 23 h ง.6.4.3 ตรวจเมล็ดข้าวตามข้อ ง.6.4.2 โดยพิจารณาระดับการสลายของเมล็ดข้าวในด่างแต่ละเมล็ด ตามลักษณะการสลายตามตารางที่ ง.1 ง.6.5 การวินิจฉัย เมล็ดข้าวที่มีระดับการสลายในด่าง ตั้งแต่ระดับ 1 ถึงระดับ 5 เป็นเมล็ดข้าวที่ไม่ใช่ข้าวไทยกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม ตารางที่ ง.1 ระดับของการสลายของเมล็ดข้าวในด่างแต่ละเมล็ด (ข้อ ง.6.4.3) ระดับการสลายของเมล็ดข้าว ภาพลักษณะการสลายของเมล็ดข้าว ลักษณะของเมล็ดข้าวที่สลายในด่าง 1 ลักษณะของเมล็ดข้าวไม่เปลี่ยนแปลงเลย 2 เมล็ดข้าวพองตัว 3 เมล็ดข้าวพองตัวและมีแป้งกระจาย ออกมาจากบางส่วนของเมล็ดข้าว 4 เมล็ดข้าวพองตัวและมีแป้งกระจาย ออกมารอบเมล็ดข้าวเป็นบริเวณกว้าง 37 มกษ. 4004-2560 ระดับการสลายของเมล็ดข้าว ภาพลักษณะการสลายของเมล็ดข้าว ลักษณะของเมล็ดข้าวที่สลายในด่าง 5 ผิวของเมล็ดข้าวปริทางขวางหรือทางยาว และมีแป้งกระจายออกมารอบเมล็ดเป็น บริเวณกว้าง 6 เมล็ดข้าวสลายตัวตลอดทั้งเมล็ด มีลักษณะเป็นเมือกขุ่นขาว 7 เมล็ดข้าวสลายตัวทั้งเมล็ดและมีลักษณะ เป็นแป้งเมือกใส ง.7 วิธีการย้อมสีด้วยสารละลายไอโอดีน การวิเคราะห์โดยวิธีการย้อมสี เพื่อการตรวจสอบข้าวเปลือกและข้าวกล้อง ต้องน าไปขัดสีเป็น ข้าวขาวก่อน ง.7.1 เครื่องมือ ง.7.1.1 บีกเกอร์แก้ว (beaker) ขนาด 100 ml หรือ ถ้วยพลาสติกใสที่มีขนาดใกล้เคียงกัน ง.7.1.2 หลอดหยด (dropper) พลาสติก ขนาด 1 ml ง.7.1.3 ขวดปริมาตร (volumetric flask) ขนาด 100 ml และ 2,000 ml ง.7.1.4 ปิเปต (pipette) ขนาดความจุอ่านได้ 1 ml ถึง 10 ml ง.7.1.5 ขวดใส่สารละลายสีชา ขนาดประมาณ 100 ml ง.7.1.6 กระบอกตวง (cylinder) ขนาด 50 ml ง.7.1.7 ปากคีบ (forcep) ง.7.1.8 กระดาษทิชชู หรือกระดาษซับ ง.7.1.9 เครื่องชั่งอ่านได้ละเอียด 0.01 g 38 มกษ. 4004-2560 ง.7.2 สารเคมี ง.7.2.1 โซเดียมไฮดรอกไซด์ (sodiumhydroxide: NaOH) ง.7.2.2 กรดเกลเซียลแอซีติก (glacial acetic acid: CH3COOH) ง.7.2.3 ไอโอดีน (iodine: I2) ง.7.2.4 โพแทสเซียมไอโอไดด์ (potassiumiodide: KI) ง.7.2.5 ไอโซโปรปิลแอลกอฮอส์ (isopropyl alcohol) 70% ง.7.2.6 น้ ากลั่นหรือน้ ากรองที่มีคุณภาพส าหรับใช้ในห้องปฏิบัติการ ง.7.3 วิธีการเตรียมสารละลาย ง.7.3.1 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1 N ละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามข้อ ง.7.2.1 จ านวน 4.00 g ในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml ในขวดปริมาตร 100 ml ทิ้งให้เย็น แล้วปรับปริมาตรให้เป็น 100 ml ง.7.3.2 สารละลายกรดแอซีติก เข้มข้น 1 N ตวงกรดเกลเซียลแอซีติกตามข้อ ง.7.2.2 Chunk 19: ปริมาตร 6 ml ใส่ลงในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml ง.7.3.3 working solution ผสมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1 N ตามข้อ ง.7.3.1 ปริมาตร 10 ml กับสารละลาย กรดแอซีติก เข้มข้น 1 N ตามข้อ ง.7.3.2 ปริมาตร 10 ml แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 2,000 ml ง.7.3.4 สารละลายไอโอดีน: ชั่งไอโอดีนตามข้อ ง.7.2.3 จ านวน 0.20 g และโพแทสเซียมไอโอไดด์ตามข้อ ง.7.2.4 จ านวน 2.00 g ละลายในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ทิ้งไว้ ข้ามคืนในที่มืด หรือจนไอโอดีนละลายหมด ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml เก็บสารละลายนี้ไว้ในขวดสีชา หมายเหตุ สารละลายไอโอดีนนี้ไม่ควรเก็บนานเกิน 2 เดือน 39 มกษ. 4004-2560 ง.7.4 วิธีวิเคราะห์ ง.7.4.1 การเตรียมสารละลายส าหรับย้อมสีเมล็ดข้าว (1) ตวงสารละลาย working solution ตามข้อ ง.7.3.3 ปริมาตร 30 ml (2) เติมสารละลายไอโอดีน ตามข้อ ง.7.3.4 จ านวน 1.5 ml คนให้เข้ากัน สารละลายที่ได้ จะใช้ส าหรับย้อมสีเมล็ดข้าว (ควรย้อมทันที) ง.7.4.2 วิธีการย้อมสีเมล็ดข้าว (1) ชักตัวอย่างข้าวขาว 3.0 g ใส่ในบีกเกอร์ ขนาด 100 ml หรือ ถ้วยพลาสติกใสที่มีขนาด ใกล้เคียงตามข้อ ง.7.1.1 (2) เติมไอโซโปรปิลแอลกอฮอล์ 70% ตามข้อ ง.7.2.5 ปริมาตร 15 ml แกว่งบีกเกอร์ หรือ ถ้วยพลาสติกใส นาน 45 s แล้วรินแอลกอฮอล์ทิ้ง (แอลกอฮอล์ที่ใช้แล้วควรรวบรวมไว้ ในขวดปิดฝา) (3) เติมน้ ากลั่น ปริมาตร 15 ml แกว่งนาน 30 s แล้วรินน้ าทิ้ง (4) เติมสารละลายส าหรับย้อมสีเมล็ดข้าว ตามข้อ ง.7.4.1 ปริมาตร 15 ml แกว่งนาน 45 s แล้วรินสารละลายทิ้ง (5) เติมน้ าปริมาตร 15 ml รินน้ าทิ้งจนแห้ง (6) เทเมล็ดข้าวลงบนกระดาษทิชชู หรือ กระดาษซับ ตามข้อ ง.7.1.8 เอากระดาษทิชชูอีกแผ่น มาซับด้านบน แล้วพลิกกลับ เพื่อเขี่ยเมล็ดข้าวลงบนกระดาษทิชชูแผ่นหลัง ปล่อยให้ข้าวแห้ง นานประมาณ 5 min (7) คัดแยกเมล็ดข้าวด้วยปากคีบ ตามข้อ ง.7.1.7 แยกออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เมล็ดข้าวติดสีชมพูอ่อนถึงไม่ติดสี เป็นข้าวแอมิโลสต่ าอยู่ในกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม เช่น ข้าวพันธุ์ กข39 กข43 กข51 ส่วนที่ 2 เมล็ดข้าวติดสีน้ าเงินหรือม่วงเข้ม เป็นข้าวแอมิโลสปานกลาง หรือแอมิโลสสูง ในกลุ่มข้าวเจ้าร่วน หรือข้าวเจ้าแข็ง เช่น ข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 ชัยนาท1 (8) น าข้าวที่คัดแยกได้ไปชั่งน้ าหนักทั้ง 2 ส่วน (9) ค านวณหาเปอร์เซ็นต์ข้าวกลุ่มอื่นปนในข้าวกลุ่มข้าวเจ้าประเภทนุ่ม เปอร์เซ็นต์ข้าวกลุ่มอื่นปน = น้ าหนักข้าวส่วนที่ 2 X 100 น้ าหนักข้าวส่วนที่ 1 + น้ าหนักข้าวส่วนที่ 2 40 มกษ. 4004-2560 ง.8 การวิเคราะห์ปริมาณข้าวอื่นปนโดยวิธีการต้มส าหรับการตรวจสอบเบื องต้น วิธีตรวจสอบเมล็ดข้าวสุกต้มในน้ าเดือด เป็นวิธีการตรวจสอบเบื้องต้นอย่างง่าย เพื่อเป็นแนวทาง ในการบ่งชี้เท่านั้น ง.8.1 เครื่องมือ ง.8.1.1 หม้อต้มน้ าไฟฟ้า ง.8.1.2 ตะกร้าตะแกรงลวดไร้สนิม ง.8.1.3 ช้อนหรือพายส าหรับเขี่ยเมล็ดข้าว ง.8.1.4 กระจกส าหรับกดเมล็ดข้าว 2 แผ่น ง.8.2 วิธีวิเคราะห์ ง.8.2.1 ชักเมล็ดข้าวขาวมา 100 เมล็ดใส่ในตะกร้า ง.8.2.2 ต้มน้ ากลั่นด้วยหม้อต้มน้ าไฟฟ้าให้เดือดเต็มที่ ง.8.2.3 หย่อนตะกร้าพร้อมเมล็ดข้าวขาวลงต้มในน้ าเดือดตามข้อ ง.8.2.2 เป็นเวลาที่ได้จากการเทียบ ค่าการสลายเมล็ดข้าวในด่าง ในระหว่างนั้นระวังอย่าให้เมล็ดข้าวเกาะติดกัน ง.8.2.4 เมื่อต้มครบตามเวลาที่ได้จากการเทียบค่าตามข้อ ง.8.2.3 แล้วให้ยกตะกร้าขึ Chunk 20: ้นจากน้ าเดือด จุ่มลงในน้ าเย็นที่เตรียมไว้ทันทีแล้วยกขึ้นให้สะเด็ดน้ า ง.8.2.5 เทเมล็ดข้าวในตะกร้าลงบนกระจก เกลี่ยเมล็ดข้าวให้กระจาย น ากระจกอีกแผ่นมาวางทับเมล็ดข้าว และกดให้แบน เพื่อตรวจดูภายในของเมล็ดข้าวทั้ง 100 เมล็ด ถ้าปรากฏว่าข้าวเมล็ดใดยังเป็นไต โดยมีลักษณะเป็นจุดขุ่นขาวของแป้งดิบปรากฏภายในเมล็ด ให้ถือว่าเป็นข้าวที่ยังไม่สุกสมบูรณ์ ง.8.3 การวินิจฉัย เมล็ดข้าวที่ยังไม่สุกสมบูรณ์ ให้ถือว่าเป็นข้าวที่ไม่ใช่ข้าวไทยกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม 41 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก จ ภาพตัวอย่างข้าวที่อาจมีปนได้ ภาพที่ จ.1 ลักษณะเมล็ดข้าวที่อาจมีปนได้ ก. ข้าวเมล็ดเหลือง ข. ข้าวเมล็ดเสีย ค. ข้าวเมล็ดขัดสีต่ ากว่ามาตรฐาน ง. ข้าวเมล็ดท้องไข่ ข ก ค ง 42 มกษ. 4004-2560 ภาคผนวก ฉ หน่วย หน่วยและสัญลักษณ์ที่ใช้ในมาตรฐานนี้ และหน่วย SI (International System of units หรือ Le Système International d’ Unités) ที่ยอมรับให้ใช้ได้ มีดังนี้ รายการ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์หน่วย มวล กิโลกรัม (kilogram) kg กรัม (gram) g ปริมาตร ลิตร (liter) L มิลลิลิตร (milliliter) ml ความยาว เซนติเมตร (centimeter) cm มิลลิเมตร (millimeter) mm นาโนเมตร (nanometer) nm เวลา วินาที (second) s นาที (minute) min ชั่วโมง (hour) h อุณหภูมิ องศาเซลเซียส (degree Celsius) C ความเข้มข้นของ สารละลาย นอร์แมลลิตี (normality) N องค์ความรู้กับการปลูกข้าว ณ โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท ผู้เรียบเรียง : จุฬาลักษณ์ ตลับนาค 1 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท ค าน า “องค์ความรู้กับการปลูกข้าว” หนังสือเล่มนี้จัดท าขึ้นเพื่อเกษตรกรชาวนามือใหม่ หรือผู้สนใจ เกี่ยวกับการปลูกข้าวโดยใช้วิถีธรรมชาติ ใช้สมุนไพรและสิ่งของที่อยู่รอบตัวน ามาใช้ในการจัดการผลิตข้าว และ จัดท าขึ้นเพื่อเกษตรกรชาวนาที่ต้องการจะปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวแบบดั้งเดิมที่มีการใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืช หันมาใช้สมุนไพร ชีวผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติในการจัดการผลิตข้าว นอกจากนี้ยังแนะแนวทางในการด าเนิน ชีวิตของเกษตรกรให้มีวิถีชีวิตแบบพอเพียง ประหยัด ลดต้นทุนในการท านาและการด ารงชีวิต คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ใหญ่สุนทร มณฑา คุณเสรี กล่ าน้อย และวิทยากรจาก ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จ.ชัยนาท ศูนย์วิจัยข้าว จ.ชัยนาท และ อ.สุวัฒน์ ทรัพยะ ประภา ที่ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้กับนักเรียนเกษตรกรชาวนา คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่ให้การสนับสนุนการจัดท าโครงการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ เรื่องข้าว ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.สถาพร ถาวรอธิวาสน์ ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท ที่ให้ค าปรึกษา แนะน า ในการจัดท าโครงการและหนังสือเล่มนี้ คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณผู้ใหญ่สุนทร มณฑา ผู้เอื้อเฟื้อสถานที่ในการจัดท าโครงการถ่ายทอดองค์ ความรู้ฯ เรื่องข้าว คณะผู้จัดท าหวังว่าหนังสือองค์ความรู้กับการปลูกข้าวเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์และให้ความรู้กับผู้อ่าน ทุกท่านได้เป็นอย่างดี หากผิดพลาดประการใดคณะผู้จัดท าขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้ Chunk 21: จัดท า ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท 1 สิงหาคม 2562 2 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท สารบัญ เรื่อง หน้า องค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกข้าว................................................................................................................... 3 ขบวนการเจริญเติบโตของพืช ................................................................................................................. 3 การย่อยสลายทางชีวภาพ ....................................................................................................................... 5 ธาตุอาหารที่จ าเป็นส าหรับพืช ................................................................................................................. 5 หลักของการเรียนรู้ในชีวิต ....................................................................................................................... 7 อิทธิพลและปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตข้าว ................................................................................................ 8 ศัตรูพืชของข้าวที่พบในแต่ละระยะ ......................................................................................................... 9 การป้องกันก าจัดศัตรูพืชข้าวโดยชีววิธี .................................................................................................... 10 ภาคผนวก .................................................................................................................................................... 11 ขั้นตอนการเตรียมการก่อนปลูก .............................................................................................................. 12 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการก าจัดศัตรูพืช ..................................................................................................... 14 3 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท องค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกข้าว ลักษณะของใบข้าวที่ดีต้องมีใบสีเขียว ตั้งชู สู้แสง แสงมีความจ าเป็นส าหรับพืชทุกชนิดรวมถึงข้าว ซึ่ง สิ่งที่อยู่ในขบวนการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ขบวนการเจริญเติบโตของพืช 1. การสังเคราะห์แสง (Phytosynthesis) คือกระบวนการสร้างอาหารของพืช เพื่อเลี้ยงตัวเอง วัตถุประสงค์ของการสังเคราะห์แสงของพืช เพื่อให้ 1. พืชด ารงชีวิตอยู่ได้ 2. เพื่อให้ผลผลิต 3. เพื่อสภาพแวดล้อม และ 4. เพื่อให้มนุษย์มีอากาศบริสุทธิ์ หายใจ พืชที่มีสีเขียวจะสังเคราะห์แสงได้ โดยจะเกิดปฏิกิริยา ดังสมการ แสง CO2 + H2O น้ าตาล/กลูโคส/แป้ง + O2. Chlorophyll โดยปฏิกิริยาเหล่านี้จะเกิดในคลอโรพลาสต์ (chloroplast) ในเซลล์พืช โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์เปลี่ยน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และไฮโดรเจน (H) จากน้ าให้กลายเป็นสารประกอบประเภทคาร์โบไฮเดรต และมีก๊าซออกซิเจน (O2) เกิดขึ้นจากภาพที่ 1 แสดงการสังเคราะห์แสงของพืช ซึ่งเกิดในคลอโรพลาสต์ใน เซลล์พืชในคลอโรพลาสต์จะมีรงควัตถุ (สารที่สามารถดูดกลืนแสงได้) ซึ่งคลอโรฟิลล์เป็นรงควัตถุที่พบบนใบไม้ สามาถดูดกลืนแสงสีม่วง แดง น้ าเงิน (ความย Chunk 22: าวคลื่น 400-700 นาโนเมตร) ได้ดี แต่สะท้อนแสงสีเขียวจึงท าให้ เราเห็นใบไม้เป็นสีเขียว ภาพที่ 1 การสังเคราะห์แสงของพืช CO2 CO2 CO2CO2 H2O คลอโรฟิลล์ดูดพลังงานแสง จากดวงอาทิตย์ 4 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท ผลพลอยได้จากการสังเคราะห์แสง จะได้น้ าตาล น้ าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ซึ่งประโยชน์ ของน้ าตาลที่ได้จากการสังเคราะห์แสงของพืช คือ น้ าตาลจะไปช่วยเรื่องโครงสร้างของพืช เช่น เป็น ส่วนประกอบของ Cellulose Hemicellulose และ Lignin นอกจากนี้ยังช่วยเรื่องการสะสมอาหารในพืช ท า ให้พืชมีน้ าตาล แป้ง ไขมัน กรดอินทรีย์ต่าง ๆ ที่เพียงพอต่อการสร้างผลผลิต 2. การหายใจ (Respiration) การหายใจของพืชจะท าให้พืชปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้ า และพลังงานออกมา ดังสมการ น้ าตาลกลูโคส + ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ + น้ า + พลังงาน C6H12O6 + O2 CO2 + H2O + ATP 3. การสังเคราะห์โปรตีน การสังเคราะห์แสงจะท าให้เกิดการสังเคราะห์โปรตีนในเซลล์พืชเกิดขึ้น ดังสมการ ไนโตรเจน + กรดอินทรีย์ กรดอะมิโน S + N + CHO CHON + S กรดอะมิโนที่ได้จะต่อเรียงกันเป็นสาย เรียกว่า โปรตีน ท าหน้าที่แบ่งเซลล์ ขยายขนาดเซลล์ ส่งผลต่อการเจริญ ของยอดเจริญพืช และเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชทั้งหมด 4. การคายน า คือ การไหลของน้ าจากดินผ่านเข้าทางรากออกสู่อากาศทางปากใบ ช่วยพืชในเรื่องของการระบาย ความร้อน และเคลื่อนย้ายน้ าและแร่ธาตุ ดังภาพที่ 2 ภาพที่ 2 แสดงการคายน้ าของพืช H2O และ แร่ธาตุ ไอน า ไอน า 5 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท การย่อยสลายทางชีวภาพ เป็นกระบวนการท าให้สิ่ง ๆ นั้นเล็กลงหรือหายไป เป็นการเปลี่ยนอินทรียวัตถุให้สิ่งมีชีวิตสามารถ น าไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ในเซลล์ได้ ธาตุอาหารที่จ าเป็นส าหรับพืช ธาตุอาหารที่พืชต้องการมี 16 ธาตุ แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และ ธาตุอาหารเสริม นอกจากนี้ยังมีอีก 3 ธาตุ ที่อยู่ในอากาศ คือ คาร์บอนไดออกไซด์ (C) ไฮโดรเจน (H) และ ออกซิเจน (O) ดังแสดงในภาพที่ 3 และ 4 แสดงถึงหน้าที่และความส าคัญของธาตุอาหารแต่ละธาตุที่มีต่อพืช 1. ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารหลักที่จ าเป็นส าหรับพืช ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และ โพแทสเซียม (K) ธาตุ เหล่านี้จ าเป็นส าหรับพืช ขาดไม่ได้ ซึ่งธาตุต่าง ๆ ก็จะท าหน้าที่ในการส่งเสริมพืชแตกต่างกันไป ไนโตรเจนจะ ท าหน้าที่สร้างต้น กิ่ง ก้าน ใบ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต ฟอสฟอรัสจะท าหน้าที่ในกระบวนการ สังเคราะห์แสง สร้างราก สร้างเมล็ด โพแทสเซียมจะท าหน้าที่ในการสร้างแป้ง น้ าตาล เคลื่อนย้ายธาตุอาหาร หยุดการท างานของไนโตรเจน 2. ธาตุอาหารรอง เป็นธาตุอาหารที่พืชไม่ต้องการในปริมาณมาก แต่ก็ขาดไม่ได้ ได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และ ซัลเฟอร์ (S) 3. ธาตุอาหารเสริม เป็นธาตุอาหารที่พืชไม่ต้องการในปริมาณมาก แต่ก็น้อยกว่าธาตุอาหารรอง และขาดไม่ได้เช่นกัน ได้แก่ เหล็ก (Fe) ทองแดง (Cu) นิเกิล (Ni) ซิลิกอน (Si) สังกะสี (Zn) โบรอน (B) โคบอล (Co) แมงกานีส (Mn) โมลิบดีนัม (Mo) และ คลอรีน (Cl) การน าธาตุอาหารไปใช้ ก่อนอื่นควรรู้จักกับค าว่า เรโช (Ratio) ของปุ๋ย คือ การน าธาตุอาหารหลักไนโตรเจนรวมกับ ฟอสฟอรัสรวมกับโพแท Chunk 23: สเซียม ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งเรียกว่า ปุ๋ยผสม ดังตัวอย่าง ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) 16 8 8 46 0 0 0 0 60 18 46 0 นอกจากนี้เกษตรกรสามารถผสมปุ๋ยใช้เองได้ โดยใช้แม่ปุ๋ยหลัก ๆ 3 ตัว ดังแสดงในภาพที่ 6 6 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท แหล่งที่มา : โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท ภาพที่ 3 แสดงธาตุอาหารส าหรับการเจริญเติบโตของต้นข้าว แหล่งที่มา : โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท ภาพที่ 4 แสดงธาตุอาหารที่ต้นข้าวต้องใช้ต่อการผลิตข้าวเปลือก 100 ถังต่อไร่ 7 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท แหล่งที่มา : โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท ภาพที่ 5 แสดงสูตรปุ๋ยที่ผสมใช้เองในการปลูกข้าว หลักของการเรียนรู้ (ใช้ได้ทุกช่วงชีวิต) หลักของการเรียนรู้ ทุกคนสามารถน ามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา รวมถึงเกษตรกรที่สนใจในการ ค้นหาสิ่งใหม่ๆ มีหลักการง่าย ๆ คือ หัดสังเกต จดจ า เปรียบเทียบ หลักของธรรมชาติสิ่งทั้งหลายที่ปรากฏเป็น ผล ล้วนเกิดจาก เหตุ อาศัยกับ ปัจจัย ร่วมกันเกิดขึ้นจะไม่ปรากฏเป็นอิสระโดดเดี่ยวล าพัง เหตุดี + ปัจจัยดี ผลดี เหตุดี + ปัจจัยไม่ดี ผลดีลดลงหรือไม่ได้ผล เหตุไม่ดี + ปัจจัยดี ผลไม่ดีหรือผลไม่ดีลดลง เหตุไม่ดี + ปัจจัยไม่ดี ผลไม่ดี 8 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท อิทธิพลและปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตข้าว ตั้งแต่หว่านข้าวลงนาจนกระทั่งเก็บเกี่ยว มีอิทธิพลต่าง ๆ มากมายที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต ของข้าว เริ่มตั้งแต่การเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าว เมล็ดพันธุ์ดีผลผลิตที่ได้ก็จะออกมาดี ถ้าเมล็ดพันธุ์ไม่ดี เป็นโรค มี วัชพืชปนเยอะ ผลผลิตที่ได้ก็จะน้อยลง และในระหว่างที่ข้าวก าลังเจริญเติบโตอาจจะมีเรื่องของศัตรูพืชต่าง ๆ แมลง โรค และวัชพืช สภาพแวดล้อม อากาศ เป็นต้น ดังแสดงในภาพที่ 3 ภาพที่ 3 ปัจจัยและอิทธิพลต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการผลิตข้าว เมล็ดพันธุ์ข้าว (เหตุ) ข้าวเปลือก (ผล) ดิน ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า หอย น า ลม อุณหภูมิ แสง นก โรคข้าว สารป้องกันก าจัด แมลง ปุ๋ย แมลงศัตรูข้าว แมลงดี น าค้าง หมอก เมฆ ชีวภัณฑ์ป้องกันโรคและแมลง สารป้องกันก าจัดโรคข้าว ฝน จุลินทรีย์ หนู ปูนา ทุน แรงงาน เครื่องมือ น ามัน วัชพืช ยาคุม/ฆ่าวัชพืช ฮอร์โมน ยาจับใบ ใจ ฤดูกาล ความรู้ อินทรีย์วัตถุ การจัดการ เวลา 9 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท ศัตรูพืชของข้าวที่พบในแต่ละระยะ เกษตรกรสามารถพบโรคและแมลงเหล่านี้ได้ในแปลงนา ดังตารางที่ 1 ดังนั้นควรหมั่นส ารวจแปลงใน ทุกระยะ เพื่อหาทางป้องกันก าจัดได้ทันเวลา และควรพิจารณาว่าจ านวนศัตรูพืชที่พบอยู่ในระดับใด สร้าง ความเสียหายหนักหรือไม่ หากพบไม่เยอะเกษตรกรสามารถใช้สารชีวภัณฑ์ป้องกันก าจัดได้ทัน จะท าให้ เกษตรกรลดต้นทุนได้มาก ซึ่งน้ าหมักต่าง ๆ ที่ช่วยป้องกันก าจัดโรค แมลง และส่งเสริมการเจริญเติบโตมี รายละเอียดอยู่ในภาคผนวก ตารางที่ 1 ตารางการจัดการศัตร Chunk 24: ูข้าว ระยะกล้า ระยะแตกกอ ระยะตั้งท้อง ระยะออกรวง ระยะเก็บเกี่ยว - โรคไหม้ - โรคใบขีดโปร่งแสง - โรคไหม้ - โรคไหม้ - โรคใบขีดโปร่งแสง - โรคถอดฝักดาบ - โรคใบขีดสีน้ าตาล - โรคถอดฝักดาบ - โรคถอดฝักดาบ - โรคขอบใบแห้ง - โรคใบสีแสด - โรคขอบใบแห้ง - โรคขอบใบแห้ง - โรครากปม - โรคไหม้ - โรคกาบใบแห้ง - โรคเมล็ดด่าง - โรคใบสีส้ม - โรคขอบใบแห้ง - โรครากปม - โรคกาบใบแห้ง - โรคถอดฝักดาบ - โรคใบขีดโปร่งแสง - โรครากปม - โรคกาบใบแห้ง - โรคใบสีส้ม - โรคกาบใบเน่า - โรครากปม - โรคใบจุดสีน้ าตาล - โรคใบจุดสีน้ าตาล - โรคใบหงิก - โรคเหลืองเตี้ย เพลี้ยไฟ หนอนกอ เพลี้ยกระโดดสี น้ าตาล แมลงสิง มวนง่าม เพลี้ยกระโดดสี น้ าตาล หนอนห่อใบข้าว หนอนกระทู้คอรวง หนอนแมลงวันเจาะ ยอด หนอนห่อใบข้าว หนอนกอ หนอนกอ หนอนกระทู้กล้า แมลงด าหนาม แมลงหล่า เพลี้ยกระโดดหลัง ขาว แมลงหล่า แมลงสิง หนอนปลอก 10 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท การป้องกันก าจัดศัตรูพืชข้าวโดยชีววิธี (โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท) สมุนไพรก าจัดแมลง (ที่มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน) - สารสกัดสะเดา - สารสกัดยาสูบ - สารสกัดกระเทียม + พริกไทย + พริกป่น - ยาสูบ + กะทิสด + กาแฟ - น้ าสับปะรด สมุนไพรต้านโรคพืช (มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อน) - เปลือกมังคุด + ขมิ้น + ผงพะโล้ - น้ าขี้เถ้า ใช้สิ่งมีชีวิตในการป้องกันก าจัดแมลง - เชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ก าจัดหนอน เป็นประเภทกินแล้วตาย - เชื้อรา Beauveria sp. ใช้ก าจัดหนอน เพลี้ย เป็นประเภทถูกตัวตาย - เชื้อรา Metarhizium sp. ใช้ก าจัดมด ปลวก เป็นประเภทถูกตัวตาย ใช้สิ่งมีชีวิตในการป้องกันก าจัดโรคพืช - เชื้อแบคทีเรีย Bacillus subtilis ป้องกันก าจัดโรคแคงเกอร์ โรคแอนแทรคโนส - เชื้อรา Trichoderma harzianum ป้องกันก าจัดโรครากเน่า โคนเน่า วิธีการสกัดสมุนไพรมีมากมายหลายวิธี ได้แก่ 1. การสกัดด้วยน้ า 2. การสกัดด้วยแอลกอฮอล์ ผสมน้ าส้มสายชู 5% 3. การสกัดด้วยการกลั่น 4. การสกัดด้วยการบีบคั้น 11 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท ภาคผนวก 12 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท แหล่งที่มา : ส านักส่งเสริมการผลิตข้าว กรมการข้าว ภาพที่ 4 ปฏิทินแสดงขั้นตอนการปลูกข้าวในเขตนาชลประทาน รายละเอียดขั้นตอนการปลูกข้าวได้มีการประยุกต์ใช้จากปฏิทินแสดงขั้นตอนการปลูกข้าวในเขตนา ชลประทาน ของส านักส่งเสริมการผลิตข้าว กรมการข้าว (ภาพที่ 4) ขั นตอนการเตรียมการก่อนปลูก การเตรียมดิน - เก็บตัวอย่างดินส่งวิเคราะห์เพื่อก าหนดปริมาณการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสม - หลังการเก็บเกี่ยวให้พักดิน 1-2 เดือน และไม่เผาฟาง/ตอซัง โดยใช้ฮอร์โมนไส้กล้วย กับ เชื้อราไตรโค เดอร์มาปล่อยลงในนาพร้อมกับน้ า เพื่อย่อยสลายฟางข้าวก่อนตีดิน - ไถกลบตอซังทิ้งไว้ 10-15 วัน ถ้าระเบิดดินดานใช้ผานหัวหมู 7 นิ้ว จะท าให้ผลผลิตเพิ่ม และลดปุ๋ยเคมี ได้มาก - ระบายน้ าเข้านาแล้วไถย่ าด้วยจอบหมุน แล้วปรับหน้าดินให้สม่ าเสมอ - ระบายน้ าออกและท าร่องระบายน้ าโดยชักร่องให้ตรงเป็นแนว ระยะห่างระหว่า Chunk 25: ง 2-3 เมตร การเตรียมเมล็ดพันธุ์ - ใช้เมล็ดพันธุ์คุณภาพดี อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ - น าเมล็ดพันธุ์มาเตรียมตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 13 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท การเพาะเมล็ดและคลุกข้าวงอกก่อนน าไปหว่าน 1. น าข้าวใส่กะละมังที่ปูด้วยมุ้ง/ตาข่ายเขียว 2. เทน้ าใส่ในกะละมังให้ท่วม เก็บเมล็ดข้าวที่ลอยน้ าออกไป ให้เหลือแต่เมล็ดที่จมอยู่ 3. ใส่น้ าหมักไตรโคเดอร์มา 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร เพื่อป้องกันเชื้อรา โรครากเน่าโคนเน่า 4. ใส่ฮอร์โมนไข่ 20 ซีซี/น้ า 1 ลิตร เพื่อเร่งการเจริญของตาข้าว หน่อข้าว 5. ห่อข้าวด้วยตาข่ายเขียว และบ่มไว้ 12 ชั่วโมง 6. เมื่อครบ 12 ชั่วโมง ให้คลุกข้าวงอกด้วยของขมก่อนน าไปหว่าน 7. คลุกด้วยสารสกัดเมล็ดสะเดา 1 กก./ข้าว 1 ถัง เพื่อป้องกันเพลี้ย หนอน ไม่ให้กินหน่อข้าว 8. คลุกด้วยผงฟ้าทะลายโจร 1 ขีด/ข้าว 1 ถัง เพื่อป้องกันนก หนู มากินเมล็ดข้าว 9. คลุกด้วยซิลิกอน (silicon) 1 ขีด/ข้าว 1 ถัง เพื่อบ ารุงต้นให้แข็งแรง และต้านทาน 10. คลุกด้วยฮอร์โมนไส้กล้วย 20 ซีซี/น้ า 1 ลิตร เพื่อเร่งการเจริญของหน่อข้าว ในไส้กล้วยมีฮอร์โมน GA 11. น าข้าวงอกไปหว่านได้ ระยะกล้า (ข้าวอายุ 1-25 วัน) - ระบายน้ าออกให้ดินแห้งจนอายุข้าว 20 วัน - ใส่ปุ๋ยเคมี ครั้งที่ 1 สูตร 18-20-0 อัตรา 20-25 กิโลกรัม/ไร่ เมื่ออายุข้าว 20 วัน - ระบายน้ าเข้ารักษาระดับน้ าประมาณ 5 เซนติเมตร - ส ารวจแปลงนา หากไม่พบศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารก าจัดศัตรูพืช ระยะแตกกอ (ข้าวอายุ 25-55 วัน) - ข้าวอายุ 40 วัน กรณีสามารถระบายน้ าได้ให้ระบายน้ าออก หรือไม่ต้องสูบน้ าเข้านา ปล่อยให้นาแห้ง ประมาณ 5 วัน แล้วใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 2 สูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ - ระบายน้ าเข้า รักษาระดับน้ า 5-10 เซนติเมตร - ส ารวจแปลงนา หากไม่พบศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารก าจัดศัตรูพืช - ใช้แหนแดงในการคลุมดินเพื่อตรึงไนโตรเจนจากอากาศลงมา ช่วยให้ต้นข้าวสมบูรณ์แข็งแรง ระยะข้าวตั งท้อง (ข้าวอายุ 55-90 วัน) - ข้าวอายุ 55-60 วัน (ระยะแตกกอสูงสุด) - ใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 3 (หาข้าวมีอาการขาดปุ๋ย) สูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ - ระบายน้ าเข้า รักษาระดับน้ า 5-10 เซนติเมตร ระวังไม่ให้ข้าวขาดน้ า - ส ารวจแปลงนา 14 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท - ไม่พบแมลงศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารเคมี กรณีพบเพลี้ยกระโดดสีน้ าตาลเฉลี่ย 1 ตัว/ต้น จึงใช้สารเคมี ชนิดดูดซึมตามค าแนะน าในฉลาก - เมื่อพบพันธุ์ปนข้าวเรื้อให้ถอนท าลายออกนอกแปลงนา ระยะน านมและข้าวสุกแก่ (ข้าวอายุ 90-120 วัน) - ส ารวจแปลงนา - ข้าวอายุ 100 วัน ระบายน้ าออกให้แห้ง เพื่อเร่งให้ข้าวสุกแก่พร้อมกัน - เก็บเกี่ยวเมื่อข้าวอยู่ในระยะพลับพลึง 110-115 วัน หรือ 28-30 วันหลังออกดอก - ไม่พบแมลงศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารเคมี กรณีพบเพลี้ยกระโดดสีน้ าตาลเฉลี่ย 1 ตัว/ต้น จึงใช้สารเคมี ชนิดดูดซึมตามค าแนะน าในฉลาก - เมื่อพบพันธุ์ปนข้าวเรื้อให้ถอนท าลายออกนอกแปลงนา วิธีการท าแป้งกล้วย 1. หั่นกล้วยก่อน เคล็ดลับ หั่นกล้วยอย่างไรไม่ให้ด า (ให้ใช้กล้วยสุก 70-80%) 2. น าเห็ดนางรมมาท าน้ ายาฟอกขาว (เนื่องจากเห็ดมีสารอุลตาไธโอน) 3. หั่นเห็ด 100 กรัม จากนั้นน าไปต้มในน้ า 10 ลิตร (ให้น้ าเดือดก่อนค่อยใส่เห็ดลงไป) 4. ทิ้งไว้ให้เย็นประมาณ 30 นาที จากนั้นน าไปตากให้แห้ง 5. ท าการบดกล้ Chunk 26: วยให้ละเอียด เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการก าจัดศัตรูพืช กลุ่มสมุนไพร 1. รสขม ป้องกันก าจัด แมลงปากกัด ปากดูด หนอน และเพลี้ย 2. รสเผ็ดร้อน ป้องกันก าจัดแมลง เพลี้ย แมลงหวี่ขาว และ ไรชนิดต่างๆ 3. กลิ่นฉุน ไล่แม่ผีเสื้อ แมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆ 4. รสฝาด ป้องกันแมลงกัดกินใบ แมลงดูดกินน้ าเลี้ยงและโรคพืชชนิดต่างๆ 5. มีน้ ายางสีขาว ก าจัดแมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆ 1. สารสกัดสมุนไพรชีวภาพ วัสดุ : สมุนไพรสด 1 กก. + จุลินทรีย์หน่อกล้วย 1 ลิตร วิธีท า : โขลกหรือบดสมุนไพร 1-3 อย่าง ในกลุ่มเดียวกัน หมักกับจุลินทรีย์หน่อกล้วยนาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ า เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สามารถเก็บไว้ใช้ได้นาน 15 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท 2. สารสกัดสะเดา วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 900 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + ผลสะเดาแห้งบด 500 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะ มีฝาปิดสนิทนาน 7 วัน แล้วบีบกรองเอาส่วนน้ าใสเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอน 3. สารสกัดสุขสมหวัง วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 900 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + ผงขมิ้นชัน 100 กรัม + ผงเปลือก มังคุด 50 กรัม + ผลพะโล้ 100 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดสนิทนาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ไล่แมลง ป้องกันโรคพืช 4. สารสกัดดีพร้อม วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 450 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% 450 ซีซี + กระเทียมกลีบสดบด 300 กรัม + พริกป่น 100 กรัม + พริกไทยด าป่น 100 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 14 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ไล่แมลง ป้องกันโรคพืช 5. สารสกัดข่า กระเทียม พริก วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 450 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% 450 ซีซี + เหง้า ข่าแก่บด 250 กรัม + กระเทียมกลีบสดบด 200 กรัม + พริกป่น 50 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 14 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ไล่แมลง ป้องกันโรคพืช 6. สารสกัดยาสูบ วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 450 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% 450 ซีซี + เส้น ยาฉุน 200 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 16 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท 7. สารสกัดยาสูบ กะทิ กาแฟ วัสดุ : มะพร้าวแกงขูด 200 กรัม + เส้นยาฉุน 100 กรัม + น้ าร้อนเดือด 1 ลิตร + กาแฟด า 200 กรัม วิธีท า : ผสมมะพร้าวแกงขูดกับเส้นยาฉุนให้เข้าด้วยกัน เทน้ าร้อนเดือดลงไป ทิ้งไว้ให้เย็นจึงคั้นน้ า จากนั้นใส่ผง กาแฟลงไปในน้ าที่คั้นได้ คนให้เข้ากันแล้วเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 8. สารสกัดยาสูบ กะทิ พริกป่น กาแฟ วัสดุ : มะพร้าวแกงขูด 200 กรัม + เส้นยาฉุน 100 กรัม + น้ าร้อนเดือด 1 ลิตร + กาแฟด า 200 กรัม + พริก ป่น 200 กรัม วิธีท า : ผสมมะพร้าวแกงขูดกับเส้นยาฉุนและพริกป่นให้เข้าด้วยกัน เทน้ าร้อนเดือดลงไป ทิ้งไว้ให้เย็นจึงคั้นน้ า จากนั้นใส่ผงกาแฟลงไปในน้ าที่คั้นได้ คนให้เข้าก Chunk 27: ันแล้วเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดเพลี้ยไฟ 9. น้ าคั้นสับปะรด ผลสับปะรดสุก มีน้ าย่อยโปรตีนและน้ าย่อยไคติน น าน้ าคั้นไปฉีดพ่นท าลายไข่และตัวอ่อนของแมลง ได้ วัสดุ : ผลสับปะรดสุก วิธีท า : ผลสับปะรดสุกเอาจุกและก้านออก น ามาหั่นทั้งเปลือกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่เครื่องปั่นน้ าผลไม้หรือท่อด้วย ผ้ามุ้งไนล่อนน าไปโขลกหรือใช้มือสวมถุงมือยางขย าให้และบีบคั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร ผสมร่วมกับสารสกัดสมุนไพรหรือสารอื่นที่ฉีดพ่นเข้าทางใบ สรรพคุณ : เสริมการป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 10. เชื้อแบคทีเรีย บีที วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + นมรสจืด 2 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + น้ าตาลทราย 100 กรัม + ไข่ไก่ 1 ฟอง + หัว เชื้อแบคทีเรีย บีที 20 กรัม + กากน้ าตาล 1 กก. วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ 72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอน 17 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท 11. เชื้อราบิวเวอเรีย วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + นมข้าว 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + นมข้าวโพด 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + หัว เชื้อราบิวเวอเรีย 20 กรัม + กากน้ าตาล 1 กก. วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ 72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 12. เชื้อราเมตาไรเซียม วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + นมข้าว 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + นมข้าวโพด 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + หัว เชื้อราบิวเวอเรีย 20 กรัม + กากน้ าตาล 1 กก. วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ 72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย 13. น้ ายาด่างทับทิม 5% วัสดุ : น้ า 1 ลิตร + ผงด่างทับทิม 50 กรัม วิธีท า : ละลายผงด่างทับทิมในน้ า คนให้ด่างทับทิมละลายจนหมด เก็บไว้ในขวดสีชาและน าไปใช้ได้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค 14. น้ าขี้เถ้า 20% วัสดุ : น้ า 1 ลิตร + ขี้เถ้าเตาฟืน 200 กรัม วิธีท า : ใส่ขี้เถ้าลงผสมในน้ า คนให้ขี้เถ้ากระจายตัวสักพัก ทิ้งค้างคืนให้ตกตะกอน รินหรือกรองเอาน้ าใส ๆ เก็บใส่ขวดไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค 18 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท 15. น้ าปูนใส วัสดุ : น้ า 1 ลิตร + ปูนกินหมาก 200 กรัม วิธีท า : ใส่ปูนกินหมากละลายลงในน้ า คนให้กระจายตัวส Chunk 28: ักพัก ทิ้งค้างคืนให้ปูนตกตะกอน รินหรือกรองเอาน้ า ใส ๆ เก็บใส่ขวดไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค 16. สารสกัดเปลือกผลมังคุด วัสดุ : น้ าขี้เถ้า/น้ าปูนใส 20% 1 ลิตร + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + ผลเปลือกมังคุด 200 กรัม วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 7 วัน บีบคั้นเอาแต่น้ าใส เก็บใส่ภาชนะไว้ใช้ อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดโรค 17. จุลินทรีย์หน่อกล้วย วัสดุ : หน่อกล้วย 3 กก. + กากน้ าตาล 1 กก. วิธีท า : หน่อกล้วยสับชิ้นเล็ก คลุกเคล้ากับกากน้ าตาล คนสองเวลา เช้าและเย็น นาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค 18. เชื้อราไตรโคเดอร์มา ขยายแบบไม่ใช้อากาศ วัสดุ : จุลินทรีย์หน่อกล้วย + กากน้ าตาล + เหล้าขาว 35 ดีกรี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% อย่างละ 1 ถ้วยตวง วิธีท า : ผสมส่วนประกอบทุกอย่างให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ 24 ชม. น ามาใช้ได้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดโรค 19. เชื้อราไตรโคเดอร์มา ขยายแบบใช้อากาศ วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + น้ านมขาว 1 กล่อง (250 ซีซี) + นมข้าวโพด 1 กล่อง (250 ซีซี) + หัวเชื้อราไตรโคเดอร์ มา 20 กรัม วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ 72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดโรค 1 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ข้าว เป็นพืชที่ใช้เป็นอาหารหลัก มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของคนเอเชียนานนับพันปีแล้ว เพราะมีตํานาน เล่าขานและประเพณีสืบทอดเกี่ยวกับข้าวมากมาย ปัญหาของข้าวไทยมีมากมายหลายอย่าง ตั้งแต่ปัญหาด้านการ ผลิต ปัญหาประสิทธิภาพทางการผลิตตกต่ํา ปัญหาจากข้าวที่ผลิตได้มีคุณภาพต่ําเนื่องจากพันธุ์ที่ปลูกไม่เหมาะสม กับสภาพพื้นที่ เป็นต้น ปัญหาที่พบในการทํานา 1. พื้นดินที่มีลักษณะไม่ตรงกับพันธุ์ข้าวที่เรานํามาปลูก เช่น ดินเปรี้ยวจนเกินไป ดินเค็มจนเกินไป 2. ปัญหาทรัพยากรน้ํา เช่น ขาดแคลนน้ําในการทํานา ปัญหาน้ําท่วม 3. ปัญหาทางด้านศัตรูพืช 4. ปัญหาของราคาข้าวตกต่ํา 5. ปัญหาของเมล็ดพันธุ์พืชได้ไม่ตรงตามมาตรฐาน 6. ปัญหาภัยแล้ง 7. ปัญหาของต้นข้าวที่ไม่ต้านทานต่อโรค ปริมาณผลผลิตข้าวไทยโดยทั่วไปขึ้นกับสภาพดินฟ้าอากาศ เพราะชาวนาไทยปลูกข้าวโดยอาศัยน้ําฝน เป็นหลักถึง 73% ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด เมล็ดพันธุ์ดีที่เหมาะกับแหล่งปลูกในแต่ละปีไม่พอ เรื่องแหล่งน้ําก็มี ปัญหา ปัจจัยการผลิตราคาสูง ต้องพึ่งพาจากต่างประเทศ ทั้งปุ๋ย ทั้งสารเคมี การถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกข้าว ตามวิธีเกษตรกรรมที่ถูกต้องยังอยู่ในวงจํากัด ขาดความรู้ และเงินทุนที่จะใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ บางอย่างเกษตรกรผู้ปลูกข้าวสามารถควบคุมได้ บางอย่างควบคุมไม่ได้ จึงต้อง ศึกษาหาความรู้และตามข่าวสารบ้านเมืองตลอดเวลาเพื่อปรับใช้ในชีวิตการทํางาน ในเอกสารนี้ได้รวบรวมเรื่อง โรคข้าวและการป้องกันกําจัดเพื่อให้สามารถนําไป Chunk 29: ใช้ในการดูแลข้าวที่ปลูกให้สมบูรณ์ มีผลผลิตเต็มเม็ดเต็มพื้นที่ ไม่เสียหายจากโรคและแมลง โดยมีโรคและแมลงที่เกษตรกรสามารถศึกษาและนําไปใช้ในการดูแลข้าวที่ปลูก ดังต่อไปนี้ ข้อมูลเพิ่มเติม ศัตรูข้าวและการป้องกันกําจัด http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php.htm http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=119.htm http://www.agriqua.doae.go.th/plantclinic/Clinic/plant/rice/bakanae.html http://www.thairath.co.th/content/360232 http://www.thairath.co.th/content/360232 2 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1. โรคถอดฝักดาบของข้าว (Bakanae) โรคถอดฝักดาบ โรคหลาว ข้าวตัวผู้ หรือโรคโคนเน่า เป็นชื่อที่หมายถึงโรคชนิดเดียวกัน พบ ระบาดมากในภาคเหนือ ภาคอีสาน และประปรายในภาคกลาง เชื้อสาเหตุ เชื้อรา Fusarium moniliforme ลักษณะอาการ พบโรคในระยะกล้า ต้นกล้าจะแห้งตายหลังจากปลูกได้ไม่เกิน 7 วัน แต่มักพบกับข้าว อายุเกิน 15 วัน ข้าวเป็นโรคจะผอมสูงเด่นกว่ากล้าข้าว โดยทั่วๆ ไป ต้นกล้าผอมสีเขียวอ่อนซีดมักย่าง ปล้อง บางกรณีข้าวจะไม่ย่างปล้องแต่รากจะเน่าช้ํา เวลาถอนมักจะขาดบริเวณโคนต้น ถ้าเป็นรุนแรง กล้าข้าวจะตาย หากไม่รุนแรงอาการจะแสดงหลังจากย้ายไปปักดํา 15-45 วัน โดยที่ต้นเป็นโรคจะสูง กว่าข้าวปกติ ใบมีสีเขียวซีด เกิดรากแขนงที่ข้อลําต้นตรงระดับน้ํา บางครั้งพบกลุ่มเส้นใยสีชมพูตรง บริเวณข้อที่ย่างปล้องขึ้นมา ต้นข้าวที่เป็นโรคมักจะตายและมีน้อยมากที่อยู่รอดจนถึงออกรวง ลักษณะต้นข้าวเป็นโรคถอดฝักดาบ เชื้อราที่ข้อของต้นข้าวที่เป็นโรคถอดฝักดาบ 3 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ข้าวเป็นโรคถอดฝักดาบ ถ้าไม่ตายจะเห็นรากที่ข้อเหนือน้ํา การแพร่ระบาด เชื้อราจะติดไปกับเมล็ด สามารถมีชีวิตในซากต้นข้าวและในดินได้เป็นเวลาหลาย เดือน พบว่าหญ้าชันกาด เป็นพืชอาศัยของโรค การป้องกันกําจัด 1. หลีกเลี่ยงการนําเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่เคยเป็นโรคระบาดมาปลูก 2. คลุกเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น เบนเลท – ดี ไดเทนเอ็ม 45 อัตราและการ ปฏิบัติตามคําแนะนําของนักวิชาการ 3. ควรกําจัดต้นข้าวที่เป็นโรคโดยการถอนและเผาไฟเสีย 4. เมื่อเกี่ยวข้าวแล้วควรไขน้ําเข้าที่นาและไถพรวน ปล่อยน้ําเข้าที่นาประมาณ 1-2 สัปดาห์ เพื่อลด ปริมาณเชื้อราสาเหตุโรคที่ตกค้างในดิน สารเคมีที่ใช้กําจัด - แมนโคเซ็บ - คาร์เบนดาซิม แนวทางการแก้ปัญหาโรคถอดฝักดาบ 1. ชาวนาควรให้ความสําคัญกับเมล็ดพันธุ์ข้าวที่จะนํามาปลูก ไม่นําเมล็ดพันธุ์จากแปลงที่มี ประวัติโรคถอดฝักดาบระบาดมาใช้ทําพันธุ์ และกรณีที่ซื้อเมล็ดพันธุ์มาปลูกควรมีวิธีการกําจัดเชื้อที่ อาจติดมากับเมล็ดพันธุ์ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น 1.1 การคลุกเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยสารเคมีป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซ็บ หรือ คาร์เบนดา ซิม +แมนโคเซ็บ ที่อัตราส่วน 3 กรัมต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม เป็นต้นหรือแช่เมล็ดข้าวด้วย สารละลายของสารเคมีป้องกันกําจัดเชื้อราดังกล่าว 30 กรัมต่อน้ํา 20 ลิตร 1.2 การแช่เมล็ดพันธุ์ก่อนนําไปปลูกในน้ําอุ่นอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส นาน 10 นาที (Ishii, 1978) โดยวิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้เพื่อป้องกันและกําจัดโรคถอดฝักดาบในการปลูกข้าวแบบ เกษตรอินทรีย์ที่ประเทศญี่ปุ่น 2. สํารวจแปลงเพาะกล้าและแปลงปลูกอย่างสม่ําเสมอ เมื่อพบต้นข Chunk 30: ้าวที่เป็นโรคให้กําจัดทิ้ง 3. ภายหลังการเก็บเกี่ยวข้าว ชาวนาควรทําการแล้วควรไขน้ําเข้าแปลงและไถพรวน ปล่อยน้ํา ขังในแปลงนาน 1 - 2 สัปดาห์ เพื่อลดปริมาณเชื้อราสาเหตุโรคที่ตกค้างในดิน อ้างอิงข้อมูลจากวารสารอู่ข้าว ฉบับเดือน มกราคม พ.ศ. 2559 หน้า 45-46 ผู้เขียน ดร.อุดม ศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน) ชาวนาท่าน ใดต้องการจะปรึกษาปัญหาเรื่องโรคข้าวสอบถามได้ที่อีเมล agrusl@ku.ac.th 4 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. โรคไหม้ (Rice Blast Disease) พบมาก ในนาน้ําฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ สาเหตุ เกิดากเชื้อรา Pyricularia grisea Sacc. อาการแผลจุดสีน้ําตาลคล้ายรูปตา อาการแผลรูปตาตรงกลางมีสีเทา อาการใบไหม้คล้ายน้ําร้อนลวก โรคไหม้ระบาดในแปลงกล้า อาการ ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ําตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2- 5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่ว บริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้ ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลําต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบใน ระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ําสีน้ําตาลดํา และมักหลุดจาก กาบใบเสมอ ระยะออกรวง (โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทําลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ําสีน้ําตาลที่บริเวณคอรวง ทําให้เปราะ หักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทําให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยสูงและมีสภาพแห้งในตอน กลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ําค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง ถ้าอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี 5 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาการโรคไหม้ในระยะข้าวออกรวง (โรคเน่าคอรวง) การป้องกันกําจัด 1. ใช้พันธุ์ต้านทานโรค ภาคกลาง เช่น สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 ชัยนาท 1 ปราจีนบุรี 1 พลายงาม คลองหลวง 1 พิษณุโลก 1 ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สุรินทร์ 1 เหนียวอุบล 2 เหนียวแพร่ สันปาตอง 1 หางยี 71 กู้เมืองหลวง ขาวโปร่งไคร้ น้ํารู ภาคใต้ เช่น ดอกพะยอม ข้อควรระวัง : ข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 และชัยนาท 1 ที่ปลูกในภาคเหนือตอนล่าง พบว่า แสดงอาการรุนแรงในบางพื้นที่ และบางปี โดยเฉพาะเมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออํานวย เช่น ฝนพรํา หรือหมอก น้ําค้างจัด อากาศเย็น ใส่ปุ๋ยมากเกินความจําเป็น หรือเป็นดินหลังน้ําท่วม • หว่านเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม คือ 15-20 กิโลกรัม/ไร่ ควรแบ่งแปลงให้มีการระบาย ถ่ายเทอากาศดี และไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงเกินไป ถ้าสูงถึง 50 กิโลกรัม/ไร่ โรคไหม้จะพัฒนาอย่าง รวดเร็ว • คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน ไตรไซคลาโซล คาร์เบนดาซิม โพรคลอราซ ตามอัตราที่ระบุ ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาดและพบแผลโรคไหม้ทั่วไป 5 เปอร์เซ็นต์ของ พื้นที่ใบ ควรฉีดพ่นสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน อีดิเฟนฟอส ไตรไซคลาโซล ไอโซโพรไทโอเลน คาร์เบนดาซิม ตามอัตราที่ระ Chunk 31: บุ 2. หว่านเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม อย่าตกกล้าหนาแน่นนัก อัตราเมล็ดพันธุ์ที่พอเหมาะคือ 15 -20 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งแปลงให้มีการระบายถ่ายเทอากาศดี และอย่าใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงเกินไป 6 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3. ใช้สารป้องกันกําจัดเชื้อราคลุกเมล็ดพันธุ์ เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาด หรือป้องกันการเกิดโรค โดยพิจารณาความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ 3.1 คลุกเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยยาปราบเชื้อรา เช่น เบนเลท-ที, คาซูมิน, ไตรไซเคลโซล คาร์เบน ดาซิม โปรโครรัส ตามคําแนะนําของนักวิชาการ 3.2 ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาด หรือพบว่าใบมีแผล ขนาดรูปตาทั่วไป เป็นจํานวนหนาตา โดยเฉพาะระยะข้าวตั้งท้อง ควรฉีดพ่นยา คาซูมิน เบนเลท, ฮิโนซาน บีมฟูจี-วัน ซาพรอล ตามอัตรา ที่ระบุ หรือตามคําแนะนําของนักวิชาการ หรือหว่านโคราทอป 5 เปอร์เซ็นต์ อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ ระยะตั้งท้องเพียง 1 ครั้ง จะป้องกันโรคไหม้ระยะคอรวง ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=112.htm 3. โรคใบจุดสีน้ําตาล (Brown Spot Disease) พบมาก ทั้ง นาน้ําฝน และ นาชลประทาน ใน ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ และ ภาคใต้ สาเหตุ เชื้อรา Bipolaris oryzae (Helminthosporium oryzae Breda de Haan.) เชื้อราสาเหตุ อาการ แผลที่ใบข้าว พบมากในระยะแตกกอมีลักษณะเป็นจุดสีน้ําตาล รูปกลมหรือรูปไข่ ขอบนอก สุดของแผลมีสีเหลือง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 มิลลิเมตร แผลที่มีการพัฒนาเต็มที่ขนาด ประมาณ 1-2 x 4-10 มิลลิเมตร บางครั้งพบแผลไม่เป็นวงกลมหรือรูปไข่ แต่จะเป็นรอยเปื้อนคล้าย สนิมกระจัดกระจายทั่วไปบนใบข้าว แผลยังสามารถเกิดบนเมล็ดข้าวเปลือก(โรคเมล็ดด่าง) บางแผล มีขนาดเล็ก บางแผลอาจใหญ่คลุมเมล็ดข้าวเปลือก ทําให้เมล็ดข้าวเปลือกสกปรก เสื่อมคุณภาพ เมื่อ นําไปสีข้าวสารจะหักง่าย อาการใบจุดสีน้ําตาลที่ใบ 7 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การแพร่ระบาด เกิดจากสปอร์ของเชื้อราปลิวไปตามลม และติดไปกับเมล็ด การป้องกันกําจัด • ใช้พันธุ์ต้านทานที่เหมาะสมกับสภาพท้องที่ และโดยเฉพาะพันธุ์ที่มีคุณสมบัติต้านทานโรคใบ สีส้ม เช่น ภาคกลางใช้พันธุ์ปทุมธานี 1 ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พันธุ์เหนียวสัน- ป่าตอง และหางยี 71 • ปรับปรุงดินโดยการไถกลบฟาง หรือเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ดินโดยการปลูกพืชปุ๋ยสด หรือปลูก พืชหมุนเวียนเพื่อช่วยลดความรุนแรงของโรค • คลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซบ หรือคาร์เบนดาซิม+แมน โคเซบ อัตรา 3 กรัม / เมล็ด 1 กิโลกรัม • ใส่ปุ๋ยโปแตสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) อัตรา 5-10 กิโลกรัม / ไร่ ช่วยลดความรุนแรงของโรค • กําจัดวัชพืชในนา ดูแลแปลงให้สะอาด และใส่ปุ๋ยในอัตราที่เหมาะสม • ถ้าพบอาการของโรคใบจุดสีน้ําตาลรุนแรงทั่วไป 10 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ใบในระยะข้าวแตกกอ หรือในระยะที่ต้นข้าวตั้งท้องใกล้ออกรวง เมื่อพบอาการใบจุดสีน้ําตาลที่ใบธงในสภาพฝนตกต่อเนื่อง อาจทําให้เกิดโรคเมล็ดด่าง ควรพ่นด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น อีดิเฟนฟอส คาร์เบนดาซิม แมน โคเซบ หรือ คาร์เบนดาซิม+แมนโคเซบ ตามอัตราที่ระบุ ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=113.htm 4. โรคใบขีดสีน้ําตาล (Narrow Brown Spot Disease) พบม Chunk 32: าก ทั้ง นาน้ําฝน และ นาชลประทาน ในภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ อาการใบขีดสีน้ําตาล สาเหตุ เชื้อรา Cercospora oryzae I. Miyake อาการ ลักษณะแผลที่ใบมีสีน้ําตาลเป็นขีด ๆ ขนานไปกับเส้นใบข้าว มักพบในระยะข้าวแตกกอ แผล ไม่กว้าง ตรงกลางเล็กและไม่มีรอยช้ําที่แผล ต่อมาแผลจะขยายมาติดกัน แผลจะมีมากตามใบล่างและ 8 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปลายใบ ใบที่เป็นโรคจะแห้งตายจากปลายใบก่อน ต้นข้าวที่เป็นโรครุนแรงจะมีแผลสีน้ําตาลที่ข้อต่อ ใบได้เช่นกัน เชื้อนี้สามารถเข้าทําลายคอรวง ทําให้คอรวงเน่าและหักพับได้ การแพร่ระบาด สปอร์ของเชื้อราสามารถปลิวไปกับลม และติดไปกับเมล็ด การป้องกันกําจัด • ใช้พันธุ์ต้านทานที่เหมาะสมเฉพาะท้องที่ เช่น ภาคใต้ใช้พันธุ์แก่นจันทร์ ดอกพะยอม • ใช้ปุ๋ยโปแตสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) อัตรา 5-10 กิโลกรัมต่อไร่ สามารถช่วยลดความรุนแรง ของโรคได้ • กรณีที่เกิดการระบาดของโรครุนแรงในระยะข้าวตั้งท้อง อาจใช้สารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น คาร์เบนดาซิม ตามอัตราที่ระบุ เพื่อป้องกันการเกิดโรคเมล็ดด่าง 5. โรคใบวงสีน้ําตาล (Leaf Scald Disease) พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง ข้าวไร่ภาคเหนือ สาเหตุ เชื้อรา Rhynocosporium oryzae Hashioka&Yokogi อาการ ระยะกล้าข้าวจะแสดงอาการไหม้ที่ปลายใบและมีสีน้ําตาลเข้ม ระยะแตกกออาการส่วนใหญ่ จะเกิดบนใบ แต่มักจะเกิดแผลที่ปลายใบมากกว่าบริเวณอื่นๆ ของใบ แผลที่เกิดบนใบในระยะแรกมี ลักษณะเป็นรอยช้ํา รูปไข่ยาวๆ แผลสีน้ําตาลปนเทา ขอบแผลสีน้ําตาลอ่อน จากนั้นแผลจะขยาย ใหญ่ขึ้นเป็นรูปวงรี ติดต่อกัน ทําให้เกิดอาการใบไหม้บริเวณกว้าง และเปลี่ยนเป็นสีฟางข้าว ในที่สุด แผลจะมีลักษณะเป็นวงซ้อนๆ กันลุกลามเข้ามาที่โคนใบ มีผลทําให้ข้าวแห้งก่อนกําหนด อาการโรคใบวงสีน้ําตาลที่ปลายใบ การแพร่ระบาด มีพืชอาศัย เช่น หญ้าชันกาด และหญ้าขน การป้องกันกําจัด • ใช้พันธุ์ข้าวต้านทาน เช่น ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือใช้พันธุ์กําผาย 15 หางยี 71 • กําจัดพืชอาศัยของเชื้อราสาเหตุโรค • ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาด หรือพบแผลลักษณะอาการดังที่กล่าวข้างต้นบนใบข้าว จํานวนมาก ในระยะข้าวแตกกอ ควรฉีดพ่นสารป้องกันกําจัดโรคพืช เช่น ไธโอฟาเนทเมทิล โพรพิโค นาโซล ตามอัตราที่ระบุ 9 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 6. โรคกาบใบแห้ง (Sheath blight Disease) พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง ภาคเหนือ และ ภาคใต้ สาเหตุ เชื้อรา Rhizoctonia solani (Thanatephorus cucumeris (Frank) Donk) อาการ เริ่มพบโรคในระยะแตกกอ จนถึงระยะใกล้เก็บเกี่ยว ยิ่งต้นข้าวมีการแตกกอมากเท่าใด ต้น ข้าวก็จะเบียดเสียดกันมากขึ้น โรคก็จะเป็นรุนแรง ลักษณะแผลสีเขียวปนเทา ขนาดประมาณ 1-4 x 2-10 มิลลิเมตร ปรากฏตามกาบใบ ตรงบริเวณใกล้ระดับน้ํา แผลจะลุกลามขยายใหญ่ขึ้นจนมีขนาด ไม่จํากัดและลุกลามขยายขึ้นถึงใบข้าว ถ้าเป็นพันธุ์ข้าวที่อ่อนแอ แผลสามารถลุกลามถึงใบธงและกาบ หุ้มรวงข้าว ทําให้ใบและกาบใบเหี่ยวแห้ง ผลผลิตจะลดลงอย่างมากมาย อาการโรคกาบใบแห้ง การแพร่ระบาด เชื้อราสามารถสร้างเม็ดขยายพันธุ์ อยู่ได้นานในตอซังหรือวัชพืชในนาตามดินนา และมีชีวิตข้ามฤดูหมุนเวียนทําลายข้าวได้ตลอดฤดูการทํานา การป้องกันกําจัด • หลังเก็บเกี่ยวข้าว และเริ่มฤดูใหม่ ควรพลิกไถหน้าดิน เพื่อทําลายเม็ดขยายพันธุ์ของเชื้อรา สาเหตุโรค • Chunk 33: กําจัดวัชพืชตามคันนาและแหล่งน้ํา เพื่อลดโอกาสการฟักตัวและเป็นแหล่งสะสมของ เชื้อราสาเหตุโรค • ใช้ชีวภัณฑ์บาซิลลัส ซับทิลิส (เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์) ตามอัตราที่ระบุ • ใช้สารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น วาลิดามัยซิน โพรพิโคนาโซล เพนไซคูรอน (25%ดับบลิวพี) หรืออีดิเฟนฟอส ตามอัตราที่ระบุโดยพ่นสารป้องกันกําจัดเชื้อรานี้ในบริเวณที่เริ่มพบ โรคระบาด ไม่จําเป็นต้องพ่นทั้งแปลง เพราะโรคกาบใบแห้งจะเกิดเป็นหย่อม ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=116.htm 10 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 7. โรคกาบใบเน่า (Sheath Rot Disease) โรคกาบใบเน่า ชาวนาบางท้องที่เรียกว่า “ข้าวตายท้องกลม” หรือ “ข้าวแท้ง” เคยพบ ระบาดรุน แรงเป็นเนื้อที่ติดต่อกันกว่า 3 พันไร่ ในเขตอําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ข้าว เสียหายไม่ให้รวง มากกว่า 70% ผลผลิตลดลงอย่างน่าใจหาย ปัจจุบันโรคนี้มีแพร่ระบาดเป็นประจํา โดยเฉพาะในแหล่ง ที่สามารถทํานาได้มากกว่าปีละครั้ง พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง สาเหตุ เชื้อรา Sarocladium oryzae Sawada อาการ ข้าวแสดงอาการในระยะตั้งท้องโดยเกิดแผลสีน้ําตาลดําบน กาบห่อรวง ขนาดแผลประมาณ 2-7 x 4-18 มิลลิเมตร ตรงกลางแผลมีกลุ่มเส้นใยสีขาวอมชมพู แผลนี้จะขยายติดต่อกันทําให้บริเวณ กาบหุ้มรวงมีสีน้ําตาลดําและรวงข้าวส่วนใหญ่โผล่ไม่พ้นกาบหุ้มรวง หรือโผล่ได้บางส่วน ทําให้เมล็ด ลีบและมีสีดํา และเชื้อรานี้สามารถอยู่ติดบนเมล็ดได้นาน นอกจากนี้ยังพบว่า “ไรขาว” ซึ่งอาศัยดูด กินน้ําเลี้ยงต้นข้าวในบริเวณกาบใบด้านในเป็นพาหะช่วยให้การเป็นโรคแพร่ระบาดได้รุนแรงและ กว้างขวางยิ่งขึ้น ลักษณะอาการโรคกาบใบเน่า แมลงพาหะ "ไรขาว" การแพร่ระบาด เชื้อรานี้ติดอยู่บนเมล็ดได้นาน นอกจากนี้ พบว่า “ไรขาว” ซึ่งอาศัยดูดกินน้ําเลี้ยงต้น ข้าวในบริเวณกาบใบด้านใน สามารถเป็นพาหะช่วยทําให้โรคแพร่ระบาดได้รุนแรง และกว้างขวาง ยิ่งขึ้น การป้องกันกําจัด • ใช้พันธุ์ค่อนข้างต้านทานที่เหมาะสมกับสภาพท้องที่ เช่น กข27 สําหรับนาลุ่มมีน้ําขัง ใช้พันธุ์ ข้าวที่ลําต้นสูง แตกกอน้อย • ใช้สารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซบ คาร์เบนดาซิม คาร์เบนดาซิม+แมนโคเซบ ไธอะ เบนดาโซล ตามอัตราที่ระบุ • ลดจํานวนประชากรไรขาว พาหะแพร่เชื้อ ในช่วงอากาศแห้งแล้ง ด้วยสารป้องกันกําจัดไร เช่น ไตรไทออน โอไมท์ ตามอัตราที่ระบุ ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=117.htm 11 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8. โรคเมล็ดด่าง (Dirty Panicle Disease) โรคเมล็ดด่าง (Dirty Panicle) พบเป็นในระยะข้าวให้รวง-ใกล้เก็บเกี่ยว โรคเมล็ดด่างเป็นโรค ร้ายแรงโรคหนึ่ง โดยเฉพาะกับข้าวต้นเตี้ยที่ใช้ปุ๋ยสูง พบระบาดแพร่หลายกับข้าวนาปรัง โดยเฉพาะ กับพันธุ์ กข. 9 เคยพบ ว่าเป็นโรคนี้ติดต่อกันเป็นเนื้อที่กว่าพันไร่ โรคเมล็ดด่าง พบในระยะข้าวออก รวงจนใกล้เก็บเกี่ยว โรคนี้เป็นโรคที่ทําความเสียหายให้กับข้าวโรคหนึ่ง พบเป็นประจําในทุกฤดู โดยเฉพาะ ในช่วงที่ข้าวกําลังออกรวงแล้วมี ฝนตก และความชื้นในนาค่อนข้างสูง โรคเมล็ดด่าง จะมี การ แพร่ระบาดเป็นเนื้อที่กว้างขวางและรุนแรง ซึ่งมี ผลกระทบต่อผลผลิตและคุณภาพขอ Chunk 34: งข้าวเป็น อย่างมาก พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ สาเหตุจากเชื้อราที่แพร่ ในอากาศถึง 6 สกุล ด้วยกัน คือ 1. Curvularia lunata (Wakk) Boed. 2. Cercospora oryzae I.Miyake 3. Helminthosporium oryzae Breda de Haan. 4. Fusarium semitectum Berk & Rav. 5. Trichoconis padwickii Ganguly 6. Sarocladium oryzae เชื้อราทั้ง 6 สกุล ดังกล่าว จะเข้าทําลายต้นข้าวในระยะ ออกรวงโดยเฉพาะ ช่วงที่ดอกข้าว ผสมและเป็นน้ํานม แล้ว และในช่วงใกล้เก็บเกี่ยวจะเห็น อาการเมล็ดด่าง ชัดเจน เมล็ดบนรวงข้าวจะ มีรอยแผลเป็นจุดสีน้ําตาล บางเมล็ดมีลายสีน้ําตาล สีเทา หรือสีชมพูทั้งเมล็ด บางเมล็ดจะลีบทั้งเมล็ด และมีสีน้ําตาลดํา ทั้งนี้เพราะ เชื้อราแต่ละสกุลจะทําลายเมล็ดให้มีลักษณะผิดปกติ แตกต่างกันไปโรค เมล็ดด่างพบเสมอทุกฤดูการปลูกข้าว โดยเฉพาะช่วงเมล็ดข้าวเป็นน้ํานม โรคนี้จะ ระบาดเป็นเนื้อที่ กว้างขวาง และมีผลกระทบต่อผลผลิต ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ และสามารถแพร่กระจาย เข้าสู่ ยุ้งฉางได้ เพราะเชื้อราสามารถติดไปกับเมล็ดพันธุ์ได้ เชื้อราสาเหตุ รวงข้าวถูกโรคเข้าทําลายที่ระบบในแปลงนา เมล็ดข้าวที่ถูกโรคเข้าทําลาย 12 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาการ ในระยะออกรวง พบแผลเป็นจุดสีน้ําตาลหรือดําที่เมล็ดบนรวงข้าว บางส่วนก็มีลายสีน้ําตาล ดํา และบางพวกมีสีเทาปนชมพู ทั้งนี้เพราะมีเชื้อราหลายชนิดที่สามารถเข้าทําลายและทําให้เกิด อาการต่างกันไป การเข้าทําลายของเชื้อรามักจะเกิดในช่วงดอกข้าวเริ่มโผล่จากกาบหุ้มรวงจนถึง ระยะเมล็ดข้าวเริ่มเป็นน้ํานม และอาการเมล็ดด่าง จะปรากฏเด่นชัดในระยะใกล้เก็บเกี่ยว อาการโรคเมล็ดด่าง การแพร่ระบาด เชื้อราสามารถแพร่กระจายไปกับลม ติดไปกับเมล็ด และสามารถแพร่กระจายใน ยุ้งฉางได้ ลักษณะอาการ เกิดอาการรวงไหม้ทั้งรวงแต่แตกต่างจากโรคไหม้คอรวงตรงที่โรคนี้ ไม่เกิดแผลที่คอรวงและ คอรวงไม่หักเมล็ดลีบเป็นบางส่วน บนเมล็ดเต็มส่วนใหญ่จะมีแผลเป็นจุดสีน้ําตาล-ดํา บางส่วนก็มีลาย สีน้ําตาลและบางพวกมีสีเทาหรือสีชมพู ทั้งนี้ เพราะมีเชื้อราหลายชนิดที่สามารถเข้าทําลายและทําให้ เกิดอาการแตกต่างกันไป การเข้าทําลายของเชื้อรามักจะเกิดในช่วงที่ดอกข้าวผสมแล้วอยู่ในช่วงเป็น น้ํานมและกําลังจะสุก หลังจากนั้นประมาณ เกือบเดือน (ใกล้เกี่ยว) อาการเมล็ดด่างจะปรากฏเด่นชัด โรคนี้สามารถแพร่กระจายไปกับลม ติดไปกับเมล็ด และอาจทําให้เชื้อราแพร่กระจายในยุ้งฉางได้ การป้องกัน เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ปลูก ควรคัดเลือกจากแปลงที่ไม่เป็นโรค ข้าวพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคนี้ เช่น สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 พิษณุโลก 2 และข้าวเจ้าหอมคลองหลวง 1 ต้องดูแลเป็นพิเศษ ก่อนหว่านเมล็ดพันธุ์ควรคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น คาร์เบนดาซิม หรือ แมนโคเซบ ในอัตรา 3 กรัม /เมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม ในระยะที่ต้นข้าวตั้งท้องใกล้ออกรวงเมื่อพบอาการใบจุดสีน้ําตาลที่ใบธงและโรคกาบใบเน่า ถ้ามี ฝนตกชุก ควรวางมาตรการป้องกันแต่ต้นมือ โดยพ่นสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น โพรพิโคนาโซล โพ รพิโคนาโซล + ไดฟีโนโคนาโซล หรือ โพรพิโคนาโซล + โพรคลอราซ หรือ คาร์เบนดาซิม + อีพ๊อกซี่ โคนาโซล หรือ ฟูซิราซอล หรือ ทีบูโคนาโซล หรือ โ Chunk 35: พรคลอราซ + คาร์เบนดาซิม หรือ แมนโคเซบ 13 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือ คาร์เบนดาซิม + แมนโคเซบ ตามอัตราที่ระบุ การป้องกันกําจัด 1. หลีกเลี่ยงพันธุ์ข้าวที่อ่อนแอต่อโรคนี้ เช่น ข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 60, สุพรรณบุรี 90 และ กข. 9 เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ปลูกควรคัดเลือกจากแปลงที่ไม่เป็นโรค 2. ก่อนปลูกให้คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่นคาร์เบน ดาซิม (carbendazim) แมน โคเซบ (mancozeb) ในอัตรา 3 กรัมต่อ เมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม 3. เนื่องจากโรคเมล็ดด่างยังไม่มีพันธุ์ข้าวที่ต้านทานต่อโรคนี้ ดังนั้นช่วง ที่ข้าวกําลังออกรวง ต้องคอยติดตามดู แลอย่างใกล้ชิดและสม่ําเสมอข้อมูล การตัดสินใจในการ ใช้สารป้องกันกําจัดโรค พืชถ้าพบ รวงข้าว มีเมล็ดด่างเพียงเล็กน้อย คือ มีเมล็ดด่าง 5 เมล็ดต่อรวง ควรพ่นสารป้องกันกําจัด โรคสารป้องกันกําจัดโรคพืชที่มี ประสิทธิภาพในการป้องกันและยับยั้ง การแพร่กระจายของโรคได้ คือ 1. ทิ้ลท์ (Tilt 25% EC.) อัตรา 20 ซีซี. ต่อน้ํา 20 ลิตร 2. โพลีอ็อกซิน (Polyoxin-z 2.2% WP.) อัตรา 30 กรัม ต่อน้ํา 20 ลิตร 3. เดลซีน-เอ็มเอ็กซ์ (Delsene MX 80% WP.) อัตรา 30 กรัม ต่อน้ํา 20 ลิตร 4. บาวิสติน (Bavistin 50% WP.) อัตรา 10-16 กรัม ต่อน้ํา 20 ลิตร 5. ฮิโนซาน (Hinosan 50% EC.) อัตรา 30 ซีซี. ต่อน้ํา 20 ลิตร โดยพ่นในระยะข้าวออกรวงช่วง ที่ สําคัญ คือ ระยะน้ํานม ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=118.htm 9. โรคขอบใบแห้ง (Bacterial Leaf Blight Disease or Bacterial Blight Disease) พบมาก ในนาน้ําฝน นาชลประทาน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ สาเหตุ เชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (ex Ishiyama) Swings et al. ลักษณะของแผลที่ขอบใบ เชื้อแบคทีเรียที่พบบริเวณแผล 14 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาการแห้งตายทั้งต้น (kresek) ความรุนแรงของโรคในระยะแตกกอ อาการ โรคนี้เป็นได้ตั้งแต่ระยะกล้า แตกกอ จนถึงฺ ออกรวง ต้นกล้าก่อนนําไปปักดําจะมีจุดเล็กๆ ลักษณะช้ําที่ขอบใบของใบล่าง ต่อมาประมาณ 7-10 วัน จุดช้ํานี้จะขยายกลายเป็นทางสีเหลืองยาว ตามใบข้าว ใบที่เป็นโรคจะแห้งเร็ว และสีเขียวจะจางลงเป็นสีเทาๆ อาการในระยะปักดําจะแสดงหลัง ปักดําแล้วหนึ่งเดือนถึงเดือนครึ่ง ใบที่เป็นโรคขอบใบมีรอยขีดช้ํา ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ที่แผล มีหยดน้ําสีครีมคล้ายยางสนกลม ๆ ขนาดเล็กเท่าหัวเข็มหมุด ต่อมาจะกลายเป็นสีน้ําตาลและหลุดไป ตาม น้ําหรือฝน ซึ่งจะทําให้โรคสามารถระบาดต่อไปได้ แผลจะขยายไปตามความยาวของใบ บางครั้ง ขยายเข้าไปข้างในตามความกว้างของใบ ขอบแผลมีลักษณะเป็นขอบลายหยัก แผลนี้เมื่อนานไปจะ เปลี่ยนเป็นสีเทา ใบที่เป็นโรค ขอบใบจะแห้งและม้วนตามความยาว ในกรณีที่ต้นข้าวมีความอ่อนแอ ต่อโรคและเชื้อโรคมีปริมาณมาก จะทําให้ท่อน้ําท่ออาหารอุดตัน ต้นข้าวจะเหี่ยวเฉาและแห้งตายทั้ง ต้นโดยรวดเร็ว เรียกอาการของโรคนี้ว่า ครีเสก (kresek) การแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุโรคสามารถแพร่ไปกับน้ํา ในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูง และสภาพที่มี ฝนตก ลมพัดแรง จะช่วยให้โรคแพร่ระบาดอย่างกว้างขวางรวดเร็ว การป้องกันกําจัด • ใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทาน เช่น พันธุ์สุพรรณบุรี 60 , 90 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 กข7 และ กข23 • ในดินที่อุดมสมบูรณ์ไม่ Chunk 36: ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมาก • ไม่ควรระบายน้ําจากแปลงที่เป็นโรคไปสู่แปลงอื่น • ควรเฝ้าระวังการเกิดโรคถ้าปลูกข้าวพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคนี้ เช่น พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 เหนียวสันป่าตอง พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 เมื่อเริ่มพบอาการของโรคบนใบข้าว ให้ใช้สารป้องกันกําจัด โรคพืช เช่น ไอโซโพรไทโอเลน คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์ เสตร็พโตมัยซินซัลเฟต+ออกซีเตทตราไซคลิน ไฮโดรคลอร์ไรด์ ไตรเบซิคคอปเปอร์ซัลเฟต ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=120.htm http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php.htm 15 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 10. โรคใบหงิก โรคใบหงิก หรือ โรคจู๋ (Ragged Stunt Virus) โรคใบหงิก พบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2520 ที่ อ.บางน้ําเปรียว จ. ฉะเชิงเทรา เป็นรุนแรงกับพันธุ์ข้าว กข. 7 พบเนื้อที่เสียหาย ประมาณ 200 ไร่ ใน ปีต่อมาโรคใบหงิกได้แพร่ ระบาด รุนแรงเพิ่มขึ้นในอีกหลาย จังหวัดในภาคกลางซึ่งเป็นแหล่งปลูก ข้าวใหญ่ของประเทศ โดยเฉพาะที่อําเภอ ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรี อยุธยา ในปีนั้นพบเนื้อที่ เสียหายติดต่อกันถึง 1 หมื่นไร่เศษ นอกจากนี้ ยังพบระบาดเสียหายมากในจังหวัดนครปฐม อ่างทอง สุพรรณบุรี ปทุม ธานี อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี นนทบุรี และกรุงเทพฯ จากการสํารวจ อย่างหยาบ ๆ เมื่อปี พ.ศ. 2523 พบโรคใบหงิกแพร่ระบาดในเขตภาค กลางประมาณ 2 แสนไร่เศษ และ มี รายงานว่าจังหวัดนครปฐมเป็น โรคใบหงิกสูงถึงประมาณ 68,750 ไร่ โรคใบหงิก เกิดจากเชื้อไวรัส ไม่ ติดต่อทางเมล็ด ดิน น้ํา ลม หรือทางสัมผัส มันจะถูกถ่ายทอดหรือ ติดต่อเข้าสู่ต้นข้าวได้ โดยแมลง ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล เท่านั้น เมื่อแมลงดูดดอมเชื้อไวรัสเข้าสู่ตัวมัน เชื้อไวรัสจะ ฟักตัวในแมลง นาน ประมาณ 8 วัน โดยเฉลี่ยจึงจะออกฤทธิ์ คือเมื่อแมลงที่อมเชื้อนี้ไปดูด กินต้นข้าว ดี ก็จะถ่ายทอดเชื้อไวรัสเข้าสู่ต้นข้าว และหลังจากนั้นประมาณ 2 อาทิตย์เป็นอย่างเร็ว จนถึง 1 เดือน เป็นอย่างช้าต้นข้าวที่ได้รับเชื้อ ก็จะเริ่มแสดงอาการ “โรคใบหงิก” เกิดกับข้าวทุกระยะการ เจริญเติบโต อาการจะปรากฏหลังจากต้นข้าวได้รับเชื้อแล้ว 15-30 วัน โดยเฉพาะ ต้นข้าวอายุตั้งแต่ 15 ถึง 45 วัน ถ้าได้รับเชื้อโรคใบหงิกแล้ว จะแสดง อาการรุนแรงมาก ส่วนต้นข้าวอายุเกิน 60 วันขึ้น ไปแม้จะได้รับเชื้อ และ แสดงอาการก็ไม่ค่อยรุนแรงนัก ลักษณะอาการ อาการของต้นข้าวที่เป็นโรคใบหงิกจะสังเกตได้ง่าย คือ ข้าวต้นเตี้ย (สั้นจู๋) ไม่พุ่งสูง เท่าที่ควร ใบสีเขียวเข้ม แคบและสั้น ใบใหม่จะแตกช้ากว่าปกติ และเมื่อแตก พุ่ง ขึ้นมาดูไม่ค่อยสมบูรณ์ ปลาย ใบจะบิดเป็นเกลียว เป็น ลักษณะเด่นที่เรียกว่า โรคใบหงิก นอกจากนี้ ยังสังเกตุเห็นขอบใบแหว่งวิ่น และเส้นใบบวมโป่งเป็นแนวยาว ทั้งที่ใบและกาบใบ ข้าวเป็นโรคใบหงิกจะออกรวงล่าช้า และให้รวง ไม่สมบูรณ์ รวงให้เมล็ดลีบเป็นส่วนใหญ่ อย่างที่ชาวนาเรียกว่าไม่มีเนื้อและเมล็ดที่สมบูรณก็มัก จะ ด่างเสียคุณภาพ เป็นส่วนมาก ข้าวเป็นโรคใบหงิก จะทําให้ผลผลิตลดลง ประมาณ 1/3 ถึง 2/3 และ ถ้ามี โรคแทรกเข้าซ้ําเติมเช่นโรคเมล็ดด่างและโรคใบขีด สีน้ําตาล ซึ่งทั้งสองโรคนี้มักจะพบเสมอ กับข้าวที่เป็น โรคใบหงิกอาจทําให้ผลผลิตเสียหายถึง 100% การป้องกันจํากัด 1. กําจัดหรือทําลายเชื้อไวรัส เชื้อไวรัสสาเหตุโรคใบ หงิกนี้นอกจากจะมี ฤทธิ์ดํารงชีพอยู่ใน ตัวแมลงแล้ว ยังแพร่ขยายปริมาณอยู่ตามตอซังข้าว และพืชอาศัย Chunk 37: เช่น ข้าวป่าและหญ้าบางชนิดซึ่ง 16 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นแหล่งอาศัยของ เชื้อ ทําให้ เกิดการแพร่ระบาดข้ามฤดูอย่างต่อเนื่อง จึงอยากแนะนําให้จัด การ ทําลายแหล่ง พืชอาศัยของ เชื้อเป็นประการแรก คือ เร่งไถกลบหรือเผาทําลาย ตอ ซังในนาข้าว ที่ เป็นโรค ดูแลกําจัดวัชพืชในนาสม่ําเสมอ โดยเฉพาะวัชพืชใกล้แหล่งน้ําที่เป็นที่อยู่อาศัย ขยายพันธุ์ แมลงพาหะ 2. ป้องกันข้าวติดเชื้อโดยใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทานใน แหล่งที่เคยมีประวัติ การแพร่ ระบาด โรค ใบหงิก มาก่อน ชาวนาควรใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานที่กรมวิชา การเกษตร แนะนํา ปัจจุบันก็มีพันธุ์ข้าว กข 9, กข 21, กข 23 และ กข 25 ซึ่งมีคุณสมบัติ ต้านทานการดูดกิน ของเพลี้ยกระโดดสีน้ํา ตาลได้ ดีพอสมควร 3. ป้องกันและกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลซึ่งเป็นแมลงพาหะ หลังจากปฏิบัติ ตามขั้น ตอน ข้อ1 และ 2 ดีแล้ว ก็อย่าเพิ่งนอนใจ ชาวนาโดยเฉพาะใน แหล่งที่มีโรค ใบหงิก ระบาดรุนแรง ควร เอาใจใส่ตรวจตรา อย่าให้ เพลี้ย กระโดดสีน้ําตาล นําเชื้อเข้าสู่ แปลงนาได้ วิธีการ นี้จําเป็นต้องใช้ สารเคมี เข้า ช่วยด้วยเริ่มใช้ตั้งแต่ ระยะกล้า โดยใช้ยาเคมีประเภท ดูดซึม ประเภทคาร์โบ ฟูราน หรือ ประเภทเดียวกันตาม คําแนะนําของ กรมวิชาการเกษตร หว่านในแปลงกล้าอัตรา 5 กก./ไร่ ใส่ก่อน หว่าน กล้าหรือหลังข้าวงอกแล้ว 3-4 วันก็ได้ เพียงครั้งเดียวก็เพียงพอระหว่าง นี้ชาวนา ควรหมั่น ตรวจดูในแปลงกล้า ว่ามี เพลี้ย กระโดดสีน้ําตาล อยู่ในแปลง บ้างหรือไม่ ถ้าหาก พบเพียง 2-3 ตัว ต่อต้น ในเนื้อที่แปลง 1 ตารางเมตร ใช้ยาฆ่าแมลง ฉีดพ่น ทําลายทันที ยาประเภทฆ่าแมลง โดยตรง นี้ก็มีด้วย กันหลายชนิด ตามคําแนะนํา ของกรมวิชา การเกษตร อาทิเช่น พวก MIPC ซึ่งมีชื่อ ทาง การค้าหลายชื่อการ ฉีดพ่นยานี้ประมาณ 1-3 ครั้ง แล้วแต่จํานวน แมลง ถ้าไม่พบแมลงเลยก็ไม่ จําเป็น ต้องฉีดพ่น การฉีดพ่น ทิ้งช่วง ประมาณ 7 วันครั้ง ก็เป็น อันหมดช่วงป้องกัน 30 วัน แรก ต่อมาในช่วง 30 วันหลังก็ปฏิบัติเช่นเดียว กันนี้การปฏิบัติ ดังกล่าวนี้ใช้ได้ทั้งในแปลงนาดําและ แปลง นาหว่านทุกประเภท 11. โรคดอกกระถิน โรคดอกกระถิน (False Smut) ในอดีตชาวนาบางท้องที่จะรู้สึกพึงพอใจมาก ที่พบเห็น รวงข้าวในนา มีเมล็ดข้าวที่เป็นโรคดอกกระถินขึ้น ประปราย เพราะ นั้นคือ สัญลักษณ์ของความอุดม สมบูรณ์ ท้องนาให้ผลผลิตดีในปีนั้น นั่นคือ ข้าวที่เป็น โรค ดอกกระถินไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย แต่ปัจจุบัน เริ่มพบเห็น แล้วว่า บางท้องที่โดย เฉพาะในเขตภาคใต้ จังหวัดพัทลุง ปัตตานี และนครศรีธรรมราช และเขต ภาคเหนือ โดยเฉพาะชาวไร่ ในเขตจังหวัดลําปาง, เชียงใหม่ และเชียราย โรคดอกกระถินเป็นโรค สําคัญ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายค่อนข้างรุนแรงและมีแนว โน้ม ว่าจะแพร่ระบาด เพิ่มเนื้อที่มากขึ้น เรื่อยๆ ลักษณะอาการ เริ่มเป็นโรคระยะตั้งท้อง-ออกรวง เชื้อราเข้าทําลายที่ เมล็ด ข้าว สร้างกลุ่มเส้นใย และสปอร์ปกคลุมเมล็ดข้าว ทําให้เมล็ดข้าว เสียหาย มีอาการบวมโตคล้ายดอก กระถิน กลุ่มเส้นใยและสปอร์จะพัฒนา ผนึกแน่น เป็นชั้นๆ เริ่มต้นจะมีสีเหลือง (ชั้นในสุด) ต่อมา จะ เปลี่ยนเป็นสี 17 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ส้ม (ชั้นกลาง) และในที่สุดจะเปลี่ยนเป็น สีเขียวเข้ม (ชั้นนอกสุด) ซึ่งจะมีลักษณะเป็นฝุ่น ละอองของ สปอร์เชื้อรา ปกติจะเกิดเพียง 2-3 เมล็ด ใน 1 รวง ในกรณีรุนแรงอาจพบมากกว่า 100 เมล็ Chunk 38: ด ต่อรวง การป้องกันกําจัด 1. พยายามหลีกเลี่ยงปลูกข้าวในช่วงที่ให้รวงตอนที่มี ฝนชุกหรือความ ชื้นสูง 2. คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยยาเคมีก่อนปลูก 3. ใช้ยาเคมีฉีดหรือพ่นก่อนข้าวออกรวง 2-3 วัน ตามคําแนะนําของ นักวิชาการ 12. โรคใบสีแสด อาการใบมีสีแสด แมลงพาหะ สาเหตุ สาเหตุโรคใบสีแสดเกิดจากเชื้อไฟโตพลาสมา อาการ ลักษณะอาการต้นข้าวที่เป็นโรค จะแสดง อาการใบสีแสดจาก ปลายใบ และเป็นสีแสดทั่วทั้ง ใบ ยกเว้นเส้นกลางใบ ใบที่เป็นโรคทั้งใบจะม้วนจากขอบ ใบทั้งสองข้างเข้ามาหาเส้นกลางใบและใบ จะแห้ง ในที่สุด ต้นข้าวที่เป็นโรคจะแตกกอได้น้อยแต่ต้น ข้าวสูงตามปกติ ไม่มีอาการเตี้ย และตาย อย่างรวดเร็ว โรคใบสีแสดจะเกิดเป็นกอๆ ไม่มีการแพร่กระจาย เป็นบริเวณกว้างเหมือนใบสีส้ม การแพร่ระบาด เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยักเป็นแมลงพาหะซึ่งสามารถอาศัยอยู่ตามต้นข้าว และกลุ่ม ของวัชพืชในตระกูลหญ้าชนิด ต่างๆ การป้องกันกําจัด เนื่องจากยังไม่มีพันธุ์ต้านทานจึงต้องใช้วิธีป้องกัน กําจัดแมลงพาหะ และพืชอาศัย 1. กําจัดวัชพืช และพืชอาศัยของเชื้อไวรัสและแมลง พาหนะนําโรค 2. ใช้ยาฆ่าแมลงพาหะ เช่น ยาดูดซึม ฟูราดาน, คูราแทร์ หรือมิปซิน หรือประเภทยาฉีดพ่น เช่น เซฟวิน 85, มิปซิน, หรือยาออกฤทธิ์ปราบ เพลี้ยจั๊กจั่น ตามคําแนะนําของนักวิชาการ ตามอัตราและ ระยะเวลา ใช้ ที่เหมาะสม 18 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 13. โรคเขียวเตี้ย อาการต้นเตี้ย เป็นพุ่มแจ้ แมลงพาหะของ โรค สาเหต ุ เชื้อไวรัส Grassy Stunt Virus อาการ ต้นเตี้ยแคระแกรนเป็นพุ่มแจ้ แตกกอมาก ใบแคบมีสีเหลือง เหลืองอมเขียวถึงเหลืองอ่อน พบว่า ที่ใบมีจุดประสีเหลืองอ่อนจนถึง น้ําตาลอ่อน บางครั้ง พบว่า ระหว่างเส้นใบเป็นแถบสีเขียว เหลืองขนาน ไปกับเส้นกลางใบ ต้นข้าวที่เป็นโรคมักจะไม่ออกรวง หรือรวงลีบบาง ครั้งอาจพบโรคนี้ เกิดร่วมกับโรค ใบหงิก แต่ไม่พบการะบาดของโรค กว้างขวางเหมือน โรคใบหงิก การแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุ(ไวรัส) มีเพรลี้ยกระโดด สีน้ําตาลเป็นแมลง พาหะ การป้องกันกําจัด 1. กําจัดหรือทําลายเชื้อไวรัส เชื้อไวรัสสาเหตุโรค ใบหงิกนี้นอกจากจะมี ฤทธิ์ดํารงชีพอยู่ใน ตัวแมลงแล้ว ยังแพร่ขยายปริมาณอยู่ตามตอซังข้าว และพืชอาศัย เช่น ข้าวป่าและหญ้าบางชนิดซึ่ง เป็นแหล่งอาศัย ของเชื้อ ทําให้เกิดการแพร่ระบาดข้ามฤดูอย่างต่อเนื่อง จึงอยากแนะนําให้จัด การทําลายแหล่งพืชอาศัยของ เชื้อเป็นประการแรกคือ เร่งไถกลบหรือเผาทําลาย ตอซัง ในนาข้าวที่ เป็นโรค ดูแลกําจัดวัชพืชในนา สม่ําเสมอ โดยเฉพาะวัชพืชใกล้แหล่งน้ํา ที่เป็นที่อยู่ อาศัยขยายพันธุ์ แมลงพาหะ 2. ป้องกันข้าวติดเชื้อโดยใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทาน ในแหล่งที่เคยมีประวัติ การแพร่ ระบาด โรค ใบหงิก มาก่อน ชาวนาควรใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานที่ กรมวิชาการ เกษตร แนะนํา ปัจจุบันก็มีพันธุ์ข้าว กข 9, กข 21, กข 23 และ กข 25 ซึ่งมีคุณสมบัติ ต้านทานการดูดกินของ เพลี้ยกระโดดสีน้ํา ตาลได้ ดีพอสมควร 3. ป้องกันและกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล (แมลงพาหะ) หลังจากปฏิบัติ ตามขั้น ตอนข้อ1 และ 2 ดีแล้ว ก็อย่าเพิ่งนอนใจ ชาวนาโดยเฉพาะใน แหล่ง ที่มีโรคใบหงิก ระบาดรุนแรง ควรเอาใจใส่ 19 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตรวจตรา อย Chunk 39: ่าให้เพลี้ย กระโดดสีน้ําตาล นําเชื้อเข้าสู่ แปลงนาได้ วิธีการ นี้จําเป็นต้องใช้ สารเคมี เข้า ช่วยด้วย เริ่มใช้ ตั้งแต่ระยะกล้า โดยใช้ยาเคมีประเภท ดูดซึม ประเภท คาร์โบฟูราน หรือ ประเภทเดียวกันตาม คําแนะนํา ของกรมวิชาการเกษตร หว่านในแปลงกล้า อัตรา 5 กก./ไร่ ใส่ก่อน หว่าน กล้าหรือหลังข้าวงอกแล้ว 3-4 วันก็ได้ เพียงครั้งเดียวก็เพียงพอระหว่าง นี้ชาวนา ควรหมั่น ตรวจดู ในแปลงกล้า ว่ามี เพลี้ย กระโดด สีน้ําตาลอยู่ในแปลง บ้างหรือไม่ ถ้าหาก พบเพียง 2-3 ตัว ต่อต้น ในเนื้อที่แปลง 1 ตารางเมตร ใช้ยาฆ่าแมลง ฉีดพ่น ทําลายทันที ยาประเภทฆ่าแมลงโดยตรง นี้ก็มีด้วย กันหลายชนิด ตามคําแนะนํา ของกรมวิชา การเกษตร อาทิเช่น พวก MIPC ซึ่งมีชื่อ ทาง การค้า หลายชื่อ การฉีดพ่นยานี้ประมาณ 1-3 ครั้ง แล้วแต่ จํานวน แมลง ถ้าไม่พบแมลงเลยก็ไม่ จําเป็น ต้องฉีด พ่น การฉีดพ่นทิ้งช่วง ประมาณ 7 วันครั้ง ก็เป็น อันหมดช่วงป้องกัน 30 วัน แรก ต่อมาในช่วง 30 วันหลังก็ปฏิบัติเช่นเดียวกันนี้การปฏิบัติ ดังกล่าวนี้ ใช้ได้ทั้งใน แปลง นาดําและ แปลงนาหว่านทุกประเภท 14. โรคหูด แมลงพาหะ เชื้อไวรัสสาเหต ุ โรคหูด (Gall Dwarf Virus) เป็นโรคที่แสดงอาการคล้ายคลึงโรคใบหงิก เกิดจากเชื้อไวรัสถ่ายทอด โดยแมลงเพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก เป็นโรค ข้าวใหม่ที่มี รายงาน ในโลก พบครั้งแรกปี พ.ศ. 2522 ที่ เขตจังหวัด อุทัยธานีต่อมา สํารวจพบโรค มีแพร่ระบาดในหลายจังหวัด เช่น ชัยนาท กรุงเทพฯ สุโขทัย ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี นครปฐม นครสวรรค์ อยุธยา และสิงห์บุรี ลักษณะอาการ ข้าวมีต้นเตี้ย แคระแกรน ใบมีสีเขียวเข้มและสั้นกว่า ปกติ ที่บริเวณหลัง และกาบใบจะ ปรากฎปุ่มปมขนาด เล็ก สีเขียวซีด หรือขาสใสลักษณะคล้าย เม็ดหูดเม็ด หูดนี้ก็คือ เส้นใบที่บวมปูด ออกมานั่นเองพบว่าเม็ดหูด จะ ปรากฏเด่นชัด และมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นเมื่อต้นข้าว แสดงอาการ รุนแรง มากขึ้น ต้นข้าวเป็นโรคจะแตกกอ น้อยลง ข้าวให้รวงไม่สมบูรณ์ และมี เพียง 2-3 รวงต่อกอ แม้ว่าโรคนี้ ไม่สามารถถ่ายทอดผ่านทาง เมล็ด ไม่ติดไปกับดิน หรือโดยการสัมผัส มีเพียงแมลง เพลี้ย จั๊กจั่นปีกลายหยัก และเพลี้ยจั๊กจั่นสีเขียวเป็น พาหะก็ตามเนื่องจากว่าแมลง ดังกล่าวนี้พบเห็น ประจํา และมีจํานวนมากบางฤดูกาล โอกาสที่โรคหูดจะแพร่ ระบาดก่อให้ เกิดความเสียหายระดับ เดียวกับโรคใบ หงิกย่อมเป็นไปได้ การป้องกันจํากัด 1. กําจัดหรือทําลายเชื้อไวรัส เชื้อไวรัสสาเหตุโรคใบหงิกนี้ นอกจากจะมีฤทธิ์ ดํารงชีพอยู่ใน ตัวแมลงแล้ว ยังแพร่ขยายปริมาณอยู่ตามตอซังข้าว และพืชอาศัย เช่น ข้าวป่าและหญ้าบางชนิดซึ่ง เป็นแหล่งอาศัยของ เชื้อ ทําให้เกิดการแพร่ระบาด ข้ามฤดู อย่างต่อเนื่อง จึงอยากแนะนําให้จัดการ 20 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทําลายแหล่งพืชอาศัยของเชื้อ เป็นประการแรก คือเร่งไถกลบหรือเผาทําลายตอซัง ในนาข้าวที่เป็น โรค ดูแลกําจัดวัชพืชในนาสม่ําเสมอ โดยเฉพาะวัชพืชใกล้แหล่งน้ําที่เป็นที่อยู่อาศัยขยาย พันธุ์แมลง พาหะ 2. ป้องกันข้าวติดเชื้อโดยใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทาน ในแหล่งที่เคยมีประวัติ การแพร่ระบาด โรค ใบหงิก มาก่อน ชาวนาควรใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานที่กรม วิชาการเกษตรแนะนํา ปัจจุบันก็มีพันธุ์ข้าว กข 9, กข 21, กข 23 และ กข 25 ซึ่งมีคุณสมบัติต้านทานการดูด กินของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ได้ดี พอสมควร 3. ป้องกันและกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล(แมลงพาหะ) หลังจ Chunk 40: ากปฏิบัติ ตามขั้นตอน ข้อสังเกตุ ตามคําแนะนํา ข้อ 1 และ 2 ดีแล้ว แต่กสิกร โดยเฉพาะใน แหล่งที่มีโรค ใบหงิก ระบาด รุนแรง ควรเอาใจใส่ตรวจตรา อย่าให้เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล นําเชื้อเข้าสู่ แปลงนาได้ วิธีการนี้ จําเป็นต้อง ใช้สาร เคมี เข้าช่วยด้วย เริ่มใช้ตั้งแต่ระยะกล้า โดยใช้ยาเคมี ประเภทดูดซึม ประเภท คาร์โบฟูราน หรือประเภท เดียวกันตาม คําแนะนํา กรมวิชาการเกษตรหว่านใน แปลงกล้าอัตรา 5 กก./ไร่ ใส่ก่อนหว่านกล้าหรือหลัง ข้าวงอกแล้ว 3-4 วันก็ได้ เพียงครั้งเดียวก็เพียงพอ ระหว่างนี้ ชาวนาควรหมั่นตรวจดู ในแปลงกล้าว่ามี เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลอยู่ในแปลงบ้างหรือไม่ ถ้าหาก พบ เพียง 2-3 ตัวต่อต้น ในเนื้อที่แปลง 1 ตารางเมตร ก็จงรีบใช้ยาฆ่า แมลงฉีดพ่นทําลายทันที ยา ประเภท ฆ่าแมลงโดยตรง นี้ก็มีด้วย กันหลาย ชนิดตามคํา แนะนําของกรมวิชาการเกษตร อาทิเช่น พวก MIPC ซึ่งมีชื่อ ทาง การค้าหลายชื่อ การฉีดพ่นยานี้ประมาณ 1-3 ครั้ง แล้วแต่จํานวน แมลง ถ้า ไม่พบแมลงเลย ก็ไม่จําเป็นต้องฉีดพ่น การฉีดพ่นควรกระทํา ประมาณ 7 วันครั้ง ก็เป็นอันหมดช่วง ป้องกัน 30 วันแรก ต่อมา ในช่วง 30 วันหลังก็ปฏิบัติเช่นเดียวกันนี้ การปฏิบัติ ดังกล่าวนี้ใช้ได้ทั้งใน แปลง นาดํา และแปลงนาหว่าน ทุกประเภท 15. โรคใบแถบแดง (Red Stripe) อาการแผลเป็นแถบ ตามแนวเส้นใบ อาการแผลแถบ สาเหตุสาเหตุของโรคมีรายงานครั้งแรกว่าเกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย แต่พบ ว่ายังไม่สามารถพิสูจน์ สาเหตุของ การเกิดโรค อาการ ลักษณะอาการที่สําคัญของโรคเริ่มแรกจะเป็น จุดสีเหลืองแผล เป็น รูปกลมหรือรูปไข่ จากนั้นจะขยาย จากจุดที่เริ่มลุกลามขึ้นไปทางปลายใบโดยเป็นแถบตาม เส้นใบ สีของแผลจะ 21 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพิ่มขึ้นๆ เป็นสีเหลืองส้ม บางครั้ง แผลจะมีสีเข้ม แผลที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นจะเป็นสีเทา และเมื่อรุนแรงจะแห้งทั้ง ใบ การแพร่ระบาด สามารถถ่ายทอดได้โดยวิธีการสัมผัสและส่วนแพร่กระจายของเชื้อสาเหตุ สามารถ เคลื่อนย้ายไปกับลมได้ (air borne) แต่ยังไม่มีการยืนยันใน รายละเอียดของ สาเหตุที่แท้จริงได้ การป้องกันกําจัด จากการทดลองยังไม่สามารถสรุปได้ว่าเกิดจากสาเหตุ ใดจึงยังไม่สามารถให้ คําแนะนําได้จนกว่าจะสามารถ พบเชื้อสาเหตุ 16. โรคใบขีดโปร่งแสง โรคใบขีดโปร่งแสง (Bacterical Leaf Streak) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เป็นโรคที่เกิดขึ้นได้ใน ทุกภาค ของประเทศ โดยเฉพาะในบริเวณที่มีฝนตกชุกความ ชื้นสูง อาการใบขีดโปร่งแสง มองเห็นชัดเมื่อให้แสงผ่านใบ อาการเมื่อมองใกล้ เชื้อแบคทีเรีย สาเหตุ ลักษณะอาการ อาการปรากฏที่ใบ ขั้นแรกเห็นเป็นขีด ช้ํายาว ไปตาม เส้นใบ ต่อมาค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสี เหลือง หรือส้มและเมื่อแผลขยายรวมกันก็จะเป็นแผลใหญ่ แสงสามารถทะลุผ่านได้ ส่วนความยาว ของแผลขึ้นอยู่ กับความต้านทานของพันธุ์ข้าวและความรุนแรงของเชื้อแต่ละท้องที่ในพันธุ์ที่ไม่มี ความต้านทานเลยแผลจะขยายไปถึงกาบใบด้วยลักษณะของแผลจะคล้ายคลึงกับเกิดบนใบ ส่วนใน พันธุ์ต้านทานจํานวนแผลจะน้อย และแผลจะไม่ค่อยขยายตามยาวรอบๆ แผลจะมีสีน้ําตาลดํา ต้น ข้าวที่เป็นโรคนี้มักถูกหนอนกระทู้ หนอนม้วนใบและแมลงดําหนามเข้าทําลายซ้ําเติม ในสภาพที่มีฝน ตก ลมพัดแรงจะช่วยให้โรคแพร่ ระบาดอย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว และถ้าสภาวะ แวดล้อมไม่สู้ เหมาะสมต่อเชื้อโรคข้าวที่แตกใบใหม่ อาจไม่แสดงอาการโรคเลย การป้องกันกําจัด 1. ในที่ด Chunk 41: ินอุดมสมบูรณ์ ไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมาก ข้าวหนาและอย่าให้ระดับน้ําในนา สูงเกินควร 2. ใช้ยาเคมีตามกรรมวิธีการป้องกันกําจัดโรคของใบแห้ง 22 เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 17. โรคลําต้นเน่า (Stem Rot Disease) พบมาก ใน นาน้ําฝน และ นาชลประทาน ใน ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ สาเหตุ เชื้อรา Sclerotium oryzae Catt. อาการ เริ่มพบอาการได้ในระยะต้นข้าวก่อนออกรวงหรือหลังออกรวงแล้ว โดยจะพบแผลเป็นจุดสี น้ําตาลดําใกล้ระดับน้ําและแผลจะขยายใหญ่ขึ้นและลงตามกาบใบของต้นข้าว และในขณะเดียวกัน ภายในลําต้นก็จะมีแผลมีลักษณะเป็นขีดสีน้ําตาล เมื่อต้นข้าวเป็นโรครุนแรง ใบล่างของต้นข้าว เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ส่วนของกาบใบและลําต้นจะเน่า ต้นข้าวล้มง่ายและเมื่อดึงต้นข้าวก็จะหลุดออก จากกอได้ง่าย ต้นข้าวจะตายก่อนออกรวง แต่ถ้ามีการระบาดของโรคไม่รุนแรงหรือโรคเกิดขึ้นใน ระยะต้นข้าวหลังออกรวงแล้ว จะมีผลทําให้ผลผลิตของข้าวลดลงได้ และเมื่อต้นข้าวเป็นโรคและแห้ง ตายก็จะพบเม็ดขยายพันธุ์ของเชื้อราสาเหตุของโรคมีสีดําฝังอยู่ในเนื้อเยื่อของกาบใบและตามปล้อง ของต้นข้าว เม็ดขยายพันธุ์ของเชื้อราสาเหตุของโรคสามารถตกค้างอยู่บนตอซังข้าวและในดินได้เป็น ระยะเวลานาน อาการที่โคนต้นข้าว อาการรุนแรงข้าวแห้งตาย การแพร่ระบาด เนื่องจากเชื้อราสาเหตุจะสร้างเม็ดขยายพันธุ์ที่ตกค้างอยู่ในตอซังข้าวและดิน ในขณะเดียวกัน ก็สามารถลอยอยู่บนผิวน้ําและแพร่กระจายไปกับน้ําในนาข้าวได้เช่นกัน การป้องกันกําจัด • เลือกปลูกพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงในแปลงที่เป็นโรค • หลังเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มฤดูใหม่ควรพลิกไถหน้าดิน เพื่อทําลายเม็ดขยายพันธุ์ของเชื้อราเก็บ ทําลายซากพืชที่เป็นโรคออกจากแปลง • หมั่นตรวจแปลงอย่างสม่ําเสมอ เมื่อเริ่มพบโรคพ่นด้วยสารป้องกันกําจัดโรคพืช เช่น พีซีเอ็นบี คาร์บ๊อกซิน วาลิดามัยซิน บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษา การแก้ปัญหาข้าว และชาวนาอย่างยั่งยืน ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ข้าวถือเป็นผลผลิตทางการเกษตรหลักของประเทศ ในขณะที่ชาวนาถือเป็น กระดูกสันหลังของชาติ แต่กลับพบว่าทั้งข้าวและชาวนาต้องเผชิญกับวงจรปัญหา ไม่จบสิ้น ทั้งข้าวราคาตกตĞ่ำ ผลผลิตที่ตĞ่ำกว่ามาตรฐาน สภาวะหนี้สิน โดยรัฐบาล ได้พยายามมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาเรื่องดังกล่าวในทุกยุคทุกสมัย ทั้งนี้ จากราคาข้าวที่ตĞ่ำลงมากเมื่อปี 2559 ทĞำให้รัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มีแนวทางการแก้ปัญหาให้กับชาวนาไทย ทั้งมาตรการเฉพาะหน้า และมาตรการยั่งยืน โดยได้น้อมนĞำ “ศาสตร์พระราชา” อันเป็นหนึ่งในหลักการ ทรงงาน คือ “การศึกษาอย่างเป็นระบบ” มาเป็นแนวคิดในการวางมาตรการ แก้ปัญหาอย่างครบวงจร โดยแบ่งออกเป็นมาตรการระยะสั้นหรือมาตรการ เฉพาะหน้าเพื่อเยียวยาความเดือดร้อน เช่น โครงการสินเชื่อชะลอ การขายข้าวเปลือกนาปี การช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวให้แก่เกษตรกรรายย่อย และ มาตรการระยะยาวหรือ มาตรการยั่งยืน เช่น โครงการนาแปลงใหญ่ การปรับ โครงสร้างการปลูกและผลิตข้าวครบวงจร เป็นต้น แต่ทั้งนี้ในหลายมาตรการ ที่นĞำมาใช้นั้นใช้ระยะเวลาและมีองค์ประกอบอื่นจĞำนวนมาก จึงควรมีการศึกษา เพิ่มเติมเพื่อให้ได้มาตรการ/ แนวทางในการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ในฐานะหน่วยงาน คลังสมองของกองท Chunk 42: ัพไทยถือเป็นกลไกหนึ่งของกองทัพที่มีหน้าที่ครอบคลุมไปถึง การตอบสนองและสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในทุกๆ ด้าน จึงได้จัดทĞำเอกสาร วิชาการ (working paper) เพื่อทĞำการศึกษา เรื่อง “บทบาทของกองทัพไทย ในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล: กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนา อย่างยั่งยืน” โดยการระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืนต่อไป ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กรกฎาคม 2560 คำ�นำ� ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ หน้า ส่วนที่ 1 บทนĞำ 1 1.1 ความเป็นมาและความสĞำคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 7 1.3 วิธีการดĞำเนินการศึกษา 8 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 9 1.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา 9 1.6 ระยะเวลาดĞำเนินงาน 10 ส่วนที่ 2 สถานการณ์ข้าวไทย ปัญหาและอุปสรรคของข้าว 11 และชาวนาไทย 2.1 ภาพรวมสถานการณ์ข้าวไทย 11 2.2 มาตรการในการแก้ไขปัญหาข้าวและชาวนาของรัฐบาล 16 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา 2.3 ปัญหาและอุปสรรคสĞำคัญของการผลิตข้าว 27 และความยากจนของชาวนาไทย (1) ต้นทุนในการผลิตสูง 27 (2) ผลผลิตต่อไร่ตĞ่ำกว่ามาตรฐาน 30 (3) ราคาข้าวมีความผันผวนในตลาดโลก 34 (4) ปริมาณผลผลิตเกินความต้องการของตลาด 41 (5) ชาวนาและองค์กรชาวนายังไม่เข้มแข็ง 47 ส่วนที่ 3 แนวทางการแก้ปัญหาการผลิตข้าวและความยากจน 53 ของชาวนาไทย ส่วนที่ 4 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอเพิ่มเติม 65 4.1 สรุปผลการศึกษา 65 4.2 ข้อเสนอเพิ่มเติม 74 ภาคผนวก ผนวก ก สรุปผลการสนทนาปัญหายุทธศาสตร์ครั้งที่ 1/60 81 เรื่อง “แนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” ผนวก ข รายงานการเดินทางเพื่อเก็บข้อมูลสĞำหรับงานวิจัย 95 สารบัญ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ญ สารบัญภาพ ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา เรื่อง “บทบาทของกองทัพไทย 10 ในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล: กรณีศึกษาการ แก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” ภาพที่ 2 แผนที่แสดงพื้นที่การปลูกข้าวตามกลุ่มพันธุ์ต่างๆ 12 ภาพที่ 3 ภาพผลประโยชน์ที่ชาวนาได้รับจากมาตรการช่วยเหลือ 17 ของรัฐบาล ภาพที่ 4 ผลประโยชน์ชาวนาที่ไม่ได้ร่วมโครงการชะลอ 19 การขายข้าวเปลือกของรัฐบาล ภาพที่ 5 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว 22 และรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2559/60 ภาพที่ 6 แสดงต้นทุนการผลิตข้าวนาปี 28 ภาพที่ 7 แสดงราคาข้าวที่ลดลงและมีความผันผวน 35 ภาพที่ 8 แสดงต้นทุนการผลิตของไทยสูงขึ้นและสูงกว่าคู่แข่ง 41 ภาพที่ 9 แสดงปริมาณการบริโภคข้าวทั่วโลกที่มีแนวโน้มลดลง 43 แต่ผลผลิตข้าวจะเพิ่มขึ้น ภาพที่ 10 กระบวนการจĞำนĞำข้าวแบบใบประทวนและแบบจĞำนĞำยุ้งฉาง 45 ภาพที่ 11 ข้อดีของโครงการรับจĞำนĞำข้าว 46 ภาพที่ 12 แนวโน้มเกษตรกรสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น 48 ภาพที่ 13 วัฏจักรปัญหาชาวนาไทย 50 ภาพที่ 14 สรุปผลการวิเคราะห์ปัญหาข้าวทั้งวงจรการเพาะปลูก 73 ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ผลผลิตข้าวนาปีและข้าวนาปรัง (2553-2560) 11 ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลผลผลิตข้าวนาปี : ผลพยากรณ์การผลิตปี 2559 32 (ปีเพาะปลูก2559/60) ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลผลผลิตข้าวนาปรัง : ผลพยากรณ์การผลิต ปี 2559 33 (ปีเพาะปลูก 2558/59) ตารางที่ 4 ปริมาณผลผลิตข้าวนาปีจากการเก็บเกี่ยวป Chunk 43: ี 2559/60 36 ตารางที่ 5 ผลผลิตข้าวช่วงปี 2556/57-2558/59 37 ตารางที่ 6 ราคาส่งออกข้าวเปรียบเทียบระหว่างปี 2011 - 2016 39 ตารางที่ 7 สรุปปัญหาและการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาไทย 69 ตารางที่ 8 สรุปผลการวิเคราะห์ปัญหาข้าวทั้งวงจรการเพาะปลูก 71 ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ 1 1.1 ความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหา “.. ข้าวต้องปลูก เพราะอีก 20 ปีประชากรอาจจะ 80 ล้านคน ข้าวจะไม่พอ ถ้าลดการปลูกข้าวไปเรื่อย ๆ ข้าวจะไม่พอ เราจะต้องซื้อข้าวจากต่างประเทศ เรื่องอะไร ประชาชนคนไทยไม่ยอม คนไทยนี้ต้องมีข้าว แม้ข้าวที่ปลูกในเมืองไทย จะสู้ข้าวที่ปลูกในต่างประเทศไม่ได้ เราก็ต้องปลูก..” ใจความตอนหนึ่งของ พระราชดĞำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งเสด็จ พระราชดĞำเนินทอดพระเนตรโครงการพระราชดĞำริ ที่บ้านโคกกูแว จังหวัด นราธิวาส เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2536 “...ไม่จĞำเป็นต้องส่งเสริมผลผลิตให้ได้ปริมาณสูงสุดแต่เพียงอย่างเดียว เพราะเป็นการสิ้นเปลืองค่าโสหุ้ย และทĞำลายคุณภาพดิน แต่ควรศึกษาสภาวะ การตลาดการเกษตร ตลอดจนการควบคุมราคาผลิตผลไม่ให้ ประชาชนได้รับ ความเดือนร้อน...” ใจความตอนหนึ่งของพระราชดĞำรัสในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในวโรกาสเสด็จพระราชดĞำเนินไปทรงดนตรี ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 25141 พระราชดĞำรัสข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความห่วงใยเรื่องผลผลิตของข้าวและ ชาวนาที่จะละทิ้งไม่ทĞำการเพาะปลูกข้าว รวมทั้งจะมุ่งเน้นเพียงแต่ปริมาณ ในการปลูก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตในระยะยาวได้ ข้าวและชาวนาเป็นสิ่งที่อยู่คู่สังคมไทยมาเป็นระยะเวลานาน ข้าวถือเป็น ผลผลิตทางการเกษตรหลักของประเทศ ซึ่งประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าว 1 มูลนิธิข้าวไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. เข้าถึงจาก http://www.thairice.org/html/culture/ culture04_1.html เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน ส่วนที่ 1 บทนำ� 2 ประมาณ 64.57 ล้านไร่2 ในขณะที่มีจĞำนวนชาวนาอันเป็นกระดูกสันหลัง ของชาติ ประมาณ 3.72 ล้านครัวเรือน หรือ ประมาณ 17 ล้านคน3 ทั้งนี้ จากการสĞำรวจภาวะเศรษฐกิจภาคเกษตรกร โดยสĞำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร พบว่าเกษตรกรจĞำนวน 6.6 ล้านครัวเรือน ชาวนามีรายได้ตĞ่ำสุดเมื่อเทียบกับ ภาคเกษตรอื่นๆ4 ขณะที่พืชเศรษฐกิจอื่นๆ มีอัตราการเพาะปลูกที่น้อยมาก อาทิ ยางพารามีเพียง 1.6 ล้านครัวเรือน มันสĞำปะหลัง 0.5 ล้านครัวเรือน ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ 0.4 ล้านครัวเรือน อ้อยโรงงาน 0.3 ล้านครัวเรือน และปาล์มนĞ้ำมัน 0.1 ล้านครัวเรือน ในทางตรงข้าม หากพิจารณาผลตอบแทนที่ได้รับกลับ สวนทางผลผลิต โดยเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มนĞ้ำมันมีรายได้สุทธิสูงที่สุดถึง 5,768 บาท/ไร่/ปี ถัดมา คือ เกษตรกรปลูกอ้อยโรงงานมีรายได้สุทธิ 5,708 บาท/ไร่/ปี และเกษตรกรปลูกยางพารามีรายได้สุทธิ 5,128 บาท/ไร่/ปี ในขณะที่ผู้ปลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เกษตรกรมีรายได้สุทธิ 1,961 บาท/ไร่/ปี ท้ายสุด คือ มันสĞำปะหลังทĞำรายได้สุทธิ 1,045 บาท/ไร่/ปี เมื่อหันกลับมาดูที่รายได้สุทธิจาก การปลูกข้าวที่ชาวนาไทยได้รับเพียง 271 บาท/ไร่/ปี ทĞำให้ชาวนาใน 56 จังหวัด ที่เพาะปลูกข้าว หรือ 75% ของพื้นที่เพาะปลูกข้าว มีรายได้ต่อปีตĞ่ำกว่าเส้น ความยากจนของประเทศที่ 29,064 บาท/ปี มีเพียงชาวนาใน 21 จังหวัดหรือ ประมาณ 25% ที่มีรายได้ต่อปีมากกว่าเส้ Chunk 44: นความยากจน5 2 อรวรรณ ศรีโสมพันธ์. โครงสร้างการผลิตและการตลาดข้าวหอมมะลิไทย. กองทุนสนับสนุน การวิจัย. 2556 3 วันข้าวและชาวนาแห่งชาติ ปี 2559. เข้าถึงจาก http://oknation.nationtv.tv/blog/ rosekia/2016/06/01/entry-1 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 4 สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตรคาดจีดีพีเกษตรปี59พลิกโต สวนทางรายได้ชาวนาไทยจนสุด. เข้าถึง จาก http://www.thansettakij.com/2016/02/01/28930 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 5 “ยุทธศาสตร์ข้าว” ฉบับหอการค้ายกระดับ“ชาวนาไทย”ขึ้นชั้นเกษตรยุคใหม่. เข้าถึงจาก http:// www.thaichamber.org/scripts/detail.asp?nNEWSID=12216 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 3 นอกจากนี้ ทั้งข้าวและชาวนาต้องติดอยู่ในวงจรปัญหา ราคาข้าวตกตĞ่ำ ผลผลิตที่ตĞ่ำกว่ามาตรฐาน สภาวะหนี้สิน และความยากจนซĞ้ำซาก โดยปัญหา เรื่องข้าวและชาวนาเป็นปัญหาที่สั่งสมมาอย่างยาวนาน ซึ่งปัจจุบันข้าวมีราคา ตĞ่ำลงร้อยละ 13 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว จากการสĞำรวจราคา ข้าวเปลือกในแต่ละจังหวัดของสมาคมโรงสีข้าวไทย พบว่าราคาข้าวเปลือก หอมมะลิและข้าวเปลือกเจ้า 5% ได้ปรับตัวลดลง โดยข้าวเปลือกหอมมะลิฤดูกาล ผลิตปี 2559/60 ที่ผลผลิตเริ่มทยอยออกมาแล้วในบางจังหวัด ปรับตัวลดลง ถึง 1,000 บาทต่อตัน ซึ่งราคา ณ วันที่ 26 ต.ค.59 ข้าวเปลือกหอมมะลิ ความชื้น 15% จ.บุรีรัมย์ ราคาอยู่ 9,000 บาทต่อตัน ลดลงจากวันที่ 19 ต.ค. 59 ที่มีราคา 10,000 บาทต่อตัน ส่วนที่ จ.นครราชสีมา ข้าวเปลือกหอมมะลิ ความชื้น 30% วันที่ 26 ต.ค. ราคาอยู่ที่ 6,800-7,000 บาท/ตัน ขณะที่ราคา ณ วันที่ 19 ต.ค. ที่ความชื้น 15% อยู่ที่ 9,800-10,000 บาทต่อตัน สĞำหรับราคาข้าวเปลือกเจ้า 5% ได้ปรับตัวลดลงเช่นกัน โดยราคา ณ วันที่ 26 ต.ค. ข้าวเปลือกเจ้า 5% ความชื้น 15% ที่ จ.สุพรรณบุรี ราคา 7,400-7,700 บาทต่อตัน ปรับลดลง จากวันที่ 19 ต.ค. ที่มีราคา 8,700 บาทต่อตัน หรือลดลง 1,000 บาทต่อตัน เช่นเดียวกัน ในขณะที่ ราคาซื้อขายข้าวล่วงหน้า ณ เดือน ธ.ค.59 โดยเป็นราคา ที่ผู้ส่งออกซื้อข้าวสารหอมมะลิจากผู้ประกอบการโรงสี จะอยู่ที่ 15,800 บาท ต่อตัน หรือ 15.80 บาท/กิโลกรัม (กก.) เมื่อทอนเป็นราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ จะอยู่ที่ 8,000 กว่าบาทต่อตัน เนื่องจากราคาส่งออกข้าวหอมมะลิที่ซื้อขาย ล่วงหน้าตĞ่ำกว่า 500 เหรียญสหรัฐต่อตันแล้ว หรืออยู่ที่ประมาณ 490 เหรียญสหรัฐต่อตัน ถือว่าเป็นราคาตĞ่ำสุดมากกว่า 10 ปีขึ้นไป เนื่องจากตลาด เกิดภาวะตื่นตระหนกจากผลผลิตข้าวที่เพิ่มมากขึ้นเกือบทุกประเทศ ทĞำให้ มีการกดราคาซื้อข้าว6 ราคาข้าวที่ตกตĞ่ำลงอย่างมากนั้นอาจเนื่องมาจากการ 6 ราคาข้าวตกต่ำ�ในรอบ 10 ปี จุดอ่อนของ”ประยุทธ์”ยังแก้ไม่ตก. เข้าถึงจาก http://www. manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9590000108553 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 4 ได้รับแรงกดดันทั้งจากปัญหาเชิงโครงสร้างของประเทศ อาทิ การกĞำหนดราคา ล่วงหน้าที่เป็นตัวกĞำหนดราคาข้าวเปลือกที่จะรับซื้อจากเกษตรกรตามกลไก การเก็งกĞำไรในตลาด ปริมาณผลผลิตที่มากเกินความต้องการของตลาด ซึ่งอุปทานข้าวเพิ่มขึ้นจากการขยายพื้นที่ปลูกข้าวมากขึ้น ทĞำให้ปริมาณ ข้าวที่ออกสู่ตลาดจึงมากขึ้น ในขณะที่อุปสงค์มีแนวโน้มลดลงจากการที่คนไทย บริโภคข้าวลดล Chunk 45: ง และการส่งออกข้าวลดลง ทĞำให้ความต้องการของผู้บริโภค มีแนวโน้มที่ลดลงด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ยังเกิดจากการที่ข้าวเก่าค้างสต็อก อยู่ในเกณฑ์ที่สูงเป็นประวัติการณ์ รวมถึงการถูกกดราคาจากพ่อค้า คนกลาง มีต้นทุนการผลิตที่สูงมีคุณภาพที่ตĞ่ำ มีภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นต้น รวมทั้ง ปัญหาการส่งออกที่ต้องเผชิญการแข่งขันอย่างรุนแรงในด้านราคากับเวียดนาม และอินเดียที่สามารถเพิ่มผลผลิตได้มากขึ้น จากข้อมูลของศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พบว่าชาวนาไทยมีต้นทุนค่าใช้จ่ายในการทĞำนาสูงที่สุดในกลุ่มประเทศอาเซียน ที่ 9,763 บาท/ไร่ ขณะที่คู่แข่งอย่างประเทศเวียดนามอยู่ที่ 4,070 บาท/ไร่ และเมียนมา 7,121 บาท/ไร่ ขณะที่ด้านผลผลิต ชาวนาไทยกลับได้ผลผลิต ต่อไร่ตĞ่ำกว่าเวียดนามอยู่ที่เพียง 450 กิโลกรัม/ไร่ โดยชาวนาเวียดนามได้ผลิต 900 กิโลกรัม/ไร่ และเมียนมา 420 กิโลกรัม/ไร่ สĞำหรับด้านราคานั้น ในปี 2556 ที่ผ่านมา ชาวนาไทยสามารถขายข้าวได้ที่ 11,319 บาท/ไร่ เวียดนามขายได้ที่ 7,251 บาท/ไร่ และเมียนมาขายได้ 10,605 บาท/ไร่ แต่เมื่อหักต้นทุนแล้ว ชาวนาไทยกลับมีรายได้ตĞ่ำที่สุด หรือมีเงินเหลือในกระเป๋าเพียง 1,555.97 บาท/ไร่ ตĞ่ำกว่าเวียดนามที่มีเงินเหลือ 3,180 บาท/ไร่ และพม่า 3,484 บาท/ไร่ และในปีนี้ซึ่งราคาข้าวโลกตกตĞ่ำอยู่ที่ประมาณ 8,000 บาทต่อไร่ หักต้นทุนแล้ว ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 5 ชาวนาไทยอยู่ในสภาวะขาดทุน7 นอกจากสาเหตุที่ราคาข้าวลดลงนอกจากการ ลดลงตามราคาสินค้าเกษตรโลกแล้ว ปัจจัยภายในส่วนหนึ่งเกิดจากราคาข้าว ที่ราคาตกตĞ่ำในช่วงปลายปี พ.ศ.2559 อาจอธิบายได้ว่าปัญหาส่วนหนึ่งมาจาก ข้าวคงคลังที่ยังเหลืออยู่จากนโยบายจĞำนĞำข้าวของรัฐบาลที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิด ปัญหาที่ข้าวชุดใหม่ไม่สามารถเข้าสู่ระบบตลาดในราคาปกติได้ ทĞำให้ราคาข้าว ตกตĞ่ำลงไปอีก ปัญหาเหล่านี้สร้างวงจรหนี้สินให้กับชาวนา เท่ากับเป็นการทĞำนา เพื่อใช้หนี้ไม่จบสิ้น รัฐบาลได้พยายามมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาเรื่องดังกล่าวในทุกยุค ทุกสมัย ซึ่งในปี 2559 รัฐบาลปัจจุบันได้นĞำแนวทางการแก้ปัญหาแก่ชาวนาไทย ทั้งมาตรการเฉพาะหน้าและมาตรการยั่งยืน โดยได้น้อมนĞำ “ศาสตร์พระราชา” อันเป็น 1 ในหลักการทรงงาน ก็คือ “การศึกษาอย่างเป็นระบบ” ตั้งแต่ “ต้นทาง” เช่น ที่ดิน แหล่งนĞ้ำ องค์ความรู้ เมล็ดพันธุ์ ยากĞำจัดศัตรูพืช “กลางทาง” เช่น แหล่งทุน เครื่องจักรกลการเกษตร โรงสี การแปรรูป และนวัตกรรม และ “ปลายทาง” เช่น ตลาดในประเทศ การส่งออกต่างประเทศ เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าว รัฐบาลได้กĞำหนดมาตรการต่างๆ8 เพื่อช่วยเหลือชาวนา ทั้งระบบออกมาเป็นระยะๆ เริ่มตั้งแต่ในมาตรการระยะสั้น หรือ มาตรการ เฉพาะหน้า มีมติเห็นชอบมาตรการช่วยเหลือเกษตรและรักษาเสถียรภาพ ราคาข้าว ปีการผลิต 2559-60 ในด้านการตลาด ตามที่คณะกรรมการนโยบาย และบริหารจัดการข้าว (นบข.) เสนอมา ได้แก่ (1) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2559-60 ซึ่งกĞำหนดวงเงินสินเชื่อต่อตันข้าวเปลือก ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาตลาด โดยเฉลี่ย 7 “ยุทธศาสตร์ข้าว” ฉบับหอการค้ายกระดับ“ชาวนาไทย”ขึ้นชั้นเกษตรยุคใหม่. เข้าถึงจาก http:// www.thaichamber.org/scripts/detail.asp?nNEWSID=12216 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 8 นายกฯเตรียม 4 กลยุทธ์แก้ราคาข้าวตกต่ำ�จ่อทบทวนโควต้านำ�เข้าข้าวโพด-ข้าวสาลี. เข้าถึงจาก http://news.thaipbs.or.th/content/257404 เข้าถึ Chunk 46: งเมื่อ 4 พ.ย. 59 ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 6 (2) ค่าใช้จ่ายในการตากข้าวเปลือกและค่าแรงงานในการเตรียมข้าวเปลือก เข้าร่วมโครงการ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร สหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งวิสาหกิจชุมชน และ (3) การช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าวให้แก่เกษตรกร รายย่อย ผู้ปลูกข้าวหอมมะลิ ปีการผลิต 2559-60 เป็นต้น สĞำหรับมาตรการระยะยาวที่เป็นมาตรการช่วยเหลือชาวนาทั้งระบบอย่าง เป็นขั้นเป็นตอน ได้แก่ (1) การลดพื้นที่ทĞำนาจากปีละ 69 ล้านไร่ เหลือ 55 ล้านไร่ และให้ ปลูกพืชอื่นๆ ที่ได้กĞำไรสูงกว่า โดยมีนโยบายลดพื้นที่ทĞำนาปรัง ให้หันไปปลูกข้าว สลับพืชอื่น เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว (2) การจĞำแนกแผนการส่งเสริมข้าวและการกĞำหนดมาตรฐานตามประเภท ของข้าว (3) การปรับโครงสร้างการปลูกและผลิตข้าวครบวงจร โดยควบคุม การผลิตข้าว แต่อย่างไรก็ตาม ปัญหาข้าวราคาตĞ่ำและหนี้สินของชาวนาซึ่งเรื้อรังสะสม มานาน จึงจĞำเป็นต้องแก้ไขทั้งระบบและต้องอาศัยระยะเวลา รวมทั้งได้รับ ความร่วมมือจากหลายภาคส่วนตั้งแต่ต้นนĞ้ำ กลางนĞ้ำ และปลายนĞ้ำ นอกจากนี้ ข้าวยังมีความสĞำคัญเกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางอาหารอีกด้วย จึงควรมี การศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้ทราบถึงปัญหาในแต่ละขั้นตอน ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และมาตรการ/ แนวทางในการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากปัญหาข้าวที่มีราคาตกตĞ่ำส่งผลให้ทุกฝ่ายจĞำเป็นต้องเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง ในการให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ทั้งนี้ กองทัพไทยโดยเฉพาะ หน่วยทหารในพื้นที่ได้มีส่วนเข้าไปให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นและเป็นการลด ต้นทุนการผลิตในด้านค่าจ้างแรงงาน อาทิ การเก็บเกี่ยว การให้ยืมเครื่องมือใน ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 7 ราคาถูก และการรับซื้อผลผลิตโดยตรงจากเกษตรกร เป็นต้น ซึ่งเป็นการช่วยเหลือ เพียงมาตรการเฉพาะหน้าระยะสั้น โดยกองทัพถือเป็นกลไกหนึ่งของรัฐบาล ในการสนับสนุนนโยบายในการแก้ปัญหา ซึ่งมีหน้าที่ตามที่ระบุไว้ในพระราช บัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.2551 มาตรา 8 วงเล็บ 3 ในการพัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคงตลอดจนสนับสนุนภารกิจอื่นของรัฐในการ พัฒนาประเทศ การป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติและการช่วยเหลือ ประชาชน อีกทั้งยังตอบสนองนโยบายของรัฐมนตรีว่าการการะทรวงกลาโหม ในการสนับสนุนการขับเคลื่อนและดĞำเนินการตามนโยบายที่สĞำคัญและเร่งด่วน ของรัฐบาล ซึ่งการแก้ปัญหาข้าวเป็นหนึ่งในนโยบายของรัฐบาลเพื่อแก้ปัญหา ความทุกข์ร้อนให้แก่ประชาชน ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ในฐานะหน่วยงาน คลังสมองของกองทัพไทย ซึ่งถือเป็นกลไกหนึ่งของรัฐบาล จึงทĞำการศึกษาเพื่อ ให้การสนับสนุนนโยบายในการแก้ปัญหาความทุกข์ร้อนให้แก่เกษตรกรอย่าง ยั่งยืน โดยได้จัดทĞำเอกสารวิชาการ (Working Paper) เรื่อง “บทบาทของกอง ทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล: กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนา อย่างยั่งยืน” โดยการระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืนต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของข้าวและชาวนาไทยตั้งแต่ขั้นต้นนĞ้ำ กลางนĞ้ำ และปลายนĞ้ำ 1.2.2 เพื่อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาไทยอย่างยั่งยืน ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ Chunk 47: สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 8 1.3 วิธีการดำ�เนินการศึกษา ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยผู้ศึกษาได้ดĞำเนินการศึกษาตามขั้นตอน ดังนี้ 1.3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การเก็บรวบรวมข้อมูล ทุติยภูมิ และข้อมูลปฐมภูมิ (1) ข้อมูลทุติยภูมิ ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจาก เอกสารวิชาการ งานวิจัย บทความ สรุปการประชุมสัมมนา และสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ บทสรุปผู้บริหารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการ อีสานเมืองข้าวและอุตสาหกรรมข้าวครบวงจรกรณีศึกษา : จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยคณะอนุกรรมาธิการการขับเคลื่อน การปฏิรูปเศรษฐกิจด้านการเกษตร ในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ (สปท.) และยุทธศาสตร์ข้าวไทยการวิจัยพัฒนาข้าวไทยและการมองไปข้างหน้า โดยสĞำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เป็นต้น (2) ข้อมูลปฐมภูมิ โดยการลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการ สัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบ มีส่วนร่วม ในพื้นที่เป้าหมาย ดังนี้ - การสนทนาปัญหายุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1/ 60 เรื่อง “แนวทาง การแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 0900 - 1600 ณ ห้องประชุม ศศย.สปท. โดยเป็นการระดมสมองจากภาค ส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ หน่วยงานราชการ ภาคเอกชน และตัวแทนเกษตรกร เป็นต้น รายละเอียดตาม ผนวก ก - การลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลการวิจัย 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 23-24 ธันวาคม 2559 ณ จ.เพชรบุรี และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ - 2 มีนาคม 2560 ณ จ.สุรินทร์ รายละเอียดตาม ผนวก ข 1.3.2 การวิเคราะห์ และการสรุปผลการศึกษา ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 9 1.4 ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาบทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบาย รัฐบาล: กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน โดยใช้นโยบายการ แก้ปัญหาข้าวของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา มาเป็นกรอบ ในการศึกษา โดยเอกสารวิชาการฉบับนี้ได้แบ่งการนĞำเสนอเนื้อหาเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 บทนĞำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ข้าวไทย ปัญหาและอุปสรรคของข้าวและชาวนาไทย ส่วนที่ 3 แนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาไทยอย่างยั่งยืน ส่วนที่ 4 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอเพิ่มเติม 1.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา กรอบแนวคิดในการศึกษา เรื่อง “บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุน นโยบายรัฐบาล: กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” โดยผู้ศึกษา ได้นĞำมาตรการการแก้ปัญหาเรื่องข้าวและชาวนาของรัฐบาลทั้งระยะสั้นและ ระยะยาวมาศึกษา มีการลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ เชิงลึกและสังเกตแบบ มีส่วนร่วม รวมทั้งการสนทนาปัญหายุทธศาสตร์เพื่อระดม สมองจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวทาง การแก้ปัญหาข้าว และชาวนาไทยอย่างยั่งยืน ดังกรอบแนวคิดในการศึกษาในภาพที่ 1 ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 10 ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา เรื่อง “บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล: กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” 1.6 ระยะเวลาดำ�เนินงาน ห้วงระยะเวลาทั้งสิ้น 5 เดือน ตั้งแต่ 1 พ.ย.59 – 31 มี.ค.60 ศูนย์ศึกษ Chunk 48: ายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 11 2.1 ภาพรวมสถานการณ์ข้าวไทย ข่าวการชุมนุมของชาวนาในหลายจังหวัดเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหา ราคาข้าวตกตĞ่ำ นับว่าเป็นปัญหาที่รัฐบาลต้องเร่งแก้ไขอย่างเร่งด่วน ทั้งนี้ ปัญหา ราคาข้าวตกตĞ่ำในปัจจุบันได้รับแรงกดดันจากปัญหาภายในประเทศ และปัญหา การส่งออก ในห้วง 5 ปีที่ผ่านมาพบว่าข้าวและชาวนาไทยประสบกับวงจรปัญหา ราคาข้าวที่มีความผันผวนอยู่อย่างต่อเนื่อง การเพาะปลูกข้าวของประเทศไทยในปีหนึ่งๆ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ฤดูด้วยกัน คือ ฤดูนาปี และฤดูนาปรัง โดยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 64.57 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 81.5 ของพื้นที่การเกษตร ในขณะที่มีจĞำนวนชาวนา ประมาณ 3.72 ล้านครัวเรือน หรือ ประมาณ 17 ล้านคน9 ผลผลิตข้าวในปี 2559 มีประมาณ 29.143 ล้านตันข้าวเปลือก ซึ่งคิดเป็นข้าวนาปี 25.20 ล้านตัน และ ข้าวนาปรัง 3.940 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตข้าวมีการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 7.3 ถึง แม้ว่าจะประสบปัญหาทั้งจากภัยแล้งและอุทกภัยก็ตาม ดังตารางที่ 1 ผลผลิต ข้าวนาปีและข้าวนาปรัง (2553-2560)10 ตารางที่ 1 ผลผลิตข้าวนาปีและข้าวนาปรัง (2553-2560) ที่มา: สĞำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (เม.ย. 2559) 7 2.1 สถานการณ์ข้าวไทย ข่าวการชุมนุมของชาวนาในหลายจังหวัดเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาราคาข้าวตกต่ า นับว่าเป็นปัญหา ที่รัฐบาลต้องเร่งแก้ไขอย่างเร่งด่วน ทั้งนี้ ปัญหาราคาข้าวตกต่ าในปัจจุบันได้รับแรงกดดันทั้งจากปัญหาในประเทศ มาจากปัญหาภายในประเทศ และปัญหาการส่งออก ในห้วง 5 ปีที่ผ่านมาพบว่าข้าวและชาวนาไทยประสบกับวงจร ปัญหาราคาข้าวที่มีความผันผวนอยู่อย่างต่อเนื่อง การเพาะปลูกข้าวของประเทศไทยในปีหนึ่งๆ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ฤดูด้วยกัน คือ ฤดูนาปี และฤดู นาปรัง โดยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 64.57 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 81.5 ของพื้นที่การเกษตร ในขณะที่มี จ านวนชาวนา ประมาณ 3.72 ล้านครัวเรือน หรือ ประมาณ 17 ล้านคน9 ผลผลิตข้าวในปี 2559 มีประมาณ 29.143 ล้านตันข้าวเปลือก ซึ่งคิดเป็นข้าวนาปี 25.20 ล้านตัน และข้าวนาปรัง 3.940 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตข้าวมีการ ขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 7.3 ถึงแม้ว่าจะประสบปัญหาทั้งจากภัยแล้งและอุทกภัยก็ตาม ดังตาราง10 หน่วย: ล้านตันข้าวเปลือก รายการ 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 +/- (%) ผลผลิตรวม 36.004 38.102 38.000 36.76 31.63 27.42 - -13.3 นาปี 25.743 25.867 27.234 27.09 26.27 23.48 25.20 +7.3 นาปรัง 10.261 12.235 10.766 9.67 5.36 3.94 - -26.4 ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (เม.ย. 2559) การเพาะปลูกข้าวในไทยสามารถเพาะปลูกได้ในทุกภูมิภาคและเกือบทุกจังหวัดของประเทศ โดยสามารถ ปลูกได้ในเขตร้อนและมีความชื้นสูงหรือภายใต้อุณหภูมิ 22-30 องศาเซลเซียส ดินที่เหมาะสมในการปลูกข้าว คือ ดินเหนียว เพราะมีคุณสมบัติในการอุ้มน้ าได้ดี มีความเป็นกรด/ ด่าง 5.0-6.5 และมีอินทรียวัตถุไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของพื้นที่ในการเพาะปลูก ส าหรับจ านวนครั้งในการเพาะปลูกของแต่ละปีขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและสภาพพื้นที่ ซึ่งรูปแบบในการเพาะปลูกข้าวของไทยแบ่งออกเป็น 2 คือ นาปี และนาปรัง11 โดยกลุ่มพันธุ์ข้าวที่เกษตรกรปลูกใน 9 คณะอนุกรรมาธิการการขับเคลื่อนการปฏิรูปเศรษฐกิจด้านการเกษตรในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ (สปท.) . บ Chunk 49: ทสรุป ผู้บริหารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการอีสานเมืองข้าวและอุตสาหกรรมข้าวครบวงจรกรณีศึกษา : จังหวัดกาฬสินธุ์ .. 2559 หน้า 4 10 สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, ผลผลิตข้าว, เข้าถึงจาก http://www.thairiceexporters.or.th/production.htm, เข้าถึงเมื่อ 4 พ.ย. 59 11 อัทธ์ พิศาลวานิช, ข้าวไทยในประชาคมอาเซียน, ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558. หน้า 94 ส่วนที่ 2 ปัญหาและอุปสรรคของข้าวและชาวนาไทย 9 คณะอนุกรรมาธิการการขับเคลื่อนการปฏิรูปเศรษฐกิจด้านการเกษตรในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ (สปท.). บทสรุปผู้บริหารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการอีสานเมือง ข้าวและอุตสาหกรรมข้าวครบวงจรกรณีศึกษา : จังหวัดกาฬสินธุ์ .. 2559 หน้า 4 10 สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, ผลผลิตข้าว, เข้าถึงจาก http://www.thairiceexporters.or.th/production. htm, เข้าถึงเมื่อ 4 พ.ย. 59 ส่วนที่ 2 สถานการณ์ข้าวไทย ปัญหาและอุปสรรคของข้าวและชาวนาไทย ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 12 การเพาะปลูกข้าวในไทยสามารถเพาะปลูกได้ในทุกภูมิภาคและเกือบ ทุกจังหวัดของประเทศ โดยสามารถปลูกได้ในเขตร้อนและมีความชื้นสูงหรือ ภายใต้อุณหภูมิ 22-30 องศาเซลเซียส ดินที่เหมาะสมในการปลูกข้าว คือ ดินเหนียว เพราะมีคุณสมบัติในการอุ้มนĞ้ำได้ดี มีความเป็นกรด/ ด่าง 5.0-6.5 และมีอินทรียวัตถุไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของพื้นที่ในการเพาะปลูก สĞำหรับจĞำนวน ครั้งในการเพาะปลูกของแต่ละปีขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและสภาพพื้นที่ ซึ่งรูปแบบในการเพาะปลูกข้าวของไทยแบ่งออกเป็น 2 คือ นาปี และนาปรัง11 โดยกลุ่มพันธุ์ข้าวที่เกษตรกรปลูกในปัจจุบันแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มข้าวขาว กลุ่มข้าวหอม และกลุ่มข้าวเหนียว พันธุ์ข้าวแต่ละกลุ่มกระจาย ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ดังนี้ ภาพที่ 2 แผนที่แสดงพื้นที่การปลูกข้าวตามกลุ่มพันธุ์ต่างๆ ที่มา: เขตการปลูกข้าวของไทย (กรมการข้าว, 2556) 11 อัทธ์ พิศาลวานิช, ข้าวไทยในประชาคมอาเซียน, สำ�นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558. หน้า 94 ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 13 กลุ่มข้าวขาวประกอบด้วย พันธุ์ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง ข้าวเจ้าไวต่อ ช่วงแสง ข้าวเจ้าพันธุ์พื้นเมือง และเข้าเจ้าอื่นๆ โดยครอบคลุมพื้นที่ ประมาณ ร้อยละ 32 ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งประเทศ พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ ลุ่มแม่นํ้าเจ้าพระยา บริเวณภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลาง กลุ่มข้าวหอมประกอบด้วย พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข 15 ปทุมธานี 1 และ ข้าวเจ้าหอมพันธุ์อื่นๆ โดยครอบคลุมพื้นที่ ประมาณร้อยละ 51 ของพื้นที่ ปลูกข้าวทั้งประเทศ พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ลุ่มแม่นํ้ามูล และลุ่มแม่นํ้าชี รวมถึงลุ่มแม่นํ้ากกที่บริเวณภาคเหนือตอนบน กลุ่มข้าวเหนียวประกอบด้วย พันธุ์ข้าว กข 6 ข้าวเหนียวไม่ไวต่อช่วงแสง ข้าวเหนียวไวต่อช่วงแสง ข้าวเหนียวพันธุ์อื่นๆ ครอบคลุมพื้นที่ ประมาณร้อยละ 17 ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งประเทศ พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน และภาคเหนือตอนบน12 ในขั้นตอนการค้าข้าวหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตชาวนาส่วนใหญ่จะขายข้าว ในรูปแบบของข้าวสด เนื่องจาก ปัจจุบันชาวนาไม่มียุ้งฉางและลานตากข้าว เป็นของตนเอง จึงนĞำไปขายในพื้นที่ใกล้กับแหล่งผลิต ได้แก่ ท่าข้าว ตลาดกลาง โรงสี ลานรับซื้อพืชไ Chunk 50: ร่ และสหกรณ์การเกษตร ทั้งนี้ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ ขายข้าวของชาวนา ได้แก่ ราคารับซื้อ ระยะทางจากนาข้าวกับแหล่งรับซื้อ เป็นต้น หลังจากนั้นจะนĞำข้าวเปลือกจากแหล่งรับซื้อไปขายยังโรงสีโดยข้าว บางส่วนจะนĞำมาแปรรูปเป็นข้าวสารเพื่อขายต่อไปยังนายหน้าหรือหยง พ่อค้า ส่งในประเทศ และผู้ส่งออก13 โดยราคาขายข้าวมีความผันผวน ซึ่งในบางปี 12 กรมการข้าว, เอกสารนำ�เสนอ เรื่อง เขตการปลูกข้าวของไทย. 2556 หน้า 4 - 6 13 อัทธ์ พิศาลวานิช, ข้าวไทยในประชาคมอาเซียน, สำ�นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558. หน้า 100 ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 14 มีราคาสูงและบางปีที่มีราคาตĞ่ำมาก การแก้ปัญหาโดยภาครัฐส่วนใหญ่จะ ดĞำเนินการด้วยการแทรกแซง/ ประกันราคา/ รับจĞำนĞำข้าว เป็นต้น ซึ่งการ แก้ปัญหาดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายให้ราคาข้าวที่คงที่ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น และความมั่นคงทางด้านราคา แต่สามารถสร้างผลกระทบในด้านอื่นๆ ได้ จากข้อมูลที่ราคาข้าวเมื่อช่วงเดือนสิงหาคม - ตุลาคม 2559 ตกตĞ่ำลง ร้อยละ 13 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งจากการสĞำรวจราคา ข้าวเปลือกในแต่ละจังหวัดของสมาคมโรงสีข้าวไทย พบว่าราคาข้าวเปลือก หอมมะลิและข้าวเปลือกเจ้า 5% ได้ปรับตัวลดลง โดยข้าวเปลือกหอมมะลิฤดูกาล ผลิตปี 2559/60 ที่ผลผลิตเริ่มทยอยออกมาแล้วในบางจังหวัด ปรับตัวลดลง ถึง 1,000 บาทต่อตัน ซึ่งราคา ณ วันที่ 26 ต.ค.59 ข้าวเปลือกหอมมะลิ ความชื้น 15% จ.บุรีรัมย์ ราคาอยู่ 9,000 บาทต่อตัน ลดลงจากวันที่ 19 ต.ค. 59 ที่มีราคา 10,000 บาทต่อตัน ส่วนที่ จ.นครราชสีมา ข้าวเปลือกหอมมะลิ ความชื้น 30% วันที่ 26 ต.ค. ราคาอยู่ที่ 6,800-7,000 บาทต่อตัน ขณะที่ราคา ณ วันที่ 19 ต.ค. ที่ความชื้น 15% อยู่ที่ 9,800-10,000 บาทต่อตัน สĞำหรับราคา ข้าวเปลือกเจ้า 5% ได้ปรับตัวลดลงเช่นกัน โดยราคา ณ วันที่ 26 ต.ค. ข้าวเปลือกเจ้า 5% ความชื้น 15% ที่ จ.สุพรรณบุรี ราคา 7,400-7,700 บาท ต่อตัน ปรับลดลงจากวันที่ 19 ต.ค. ที่มีราคา 8,700 บาทต่อตัน หรือลดลง 1,000 บาทต่อตัน เช่นเดียวกัน ในขณะที่ราคาซื้อขายข้าวล่วงหน้า ณ เดือน ธ.ค.59 โดยเป็นราคาที่ผู้ส่งออกซื้อข้าวสารหอมมะลิจากผู้ประกอบการโรงสี อยู่ที่ 15,800 บาทต่อตัน หรือ 15.80 บาทต่อกิโลกรัม (กก.) เมื่อทอนเป็นราคา ข้าวเปลือกหอมมะลิจะอยู่ที่ 8,000 กว่าบาทต่อตัน เนื่องจากราคาส่งออก ข้าวหอมมะลิที่ซื้อขายล่วงหน้าตĞ่ำกว่า 500 เหรียญสหรัฐต่อตัน หรืออยู่ที่ ประมาณ 490 เหรียญสหรัฐต่อตัน ต่างจากราคาซื้อขายล่วงหน้าตามปกติ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน 15 ซึ่งอยู่ที่ 750-775 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ซึ่งถือเป็นราคาที่ตĞ่ำที่สุดในรอบ เกือบ 10 ปี14 เนื่องจากตลาดเกิดภาวะตื่นตระหนกจากผลผลิตข้าวที่เพิ่ม มากขึ้นเกือบทุกประเทศ ทĞำให้มีการกดราคาซื้อข้าว15 นอกจากนี้ จากการสĞำรวจภาวะเศรษฐกิจภาคเกษตรกร โดยสĞำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร พบว่าเกษตรกรจĞำนวน 6.6 ล้านครัวเรือน ชาวนามีรายได้ ตĞ่ำสุดเมื่อเทียบกับภาคเกษตรอื่นๆ16 พบสาเหตุที่ราคาข้าวลดลงนอกจากเป็นการ ลดลงตามราคาสินค้าเกษตรโลกแล้ว ปัจจัยภายในส่วนหนึ่งเกิดจากราคาข้าว ที่ราคาตกตĞ่ำในช่วงปลายปี พ.ศ.2559 อาจอธิบายได้ว่าปัญหาส่วนหนึ่งมาจาก ข้าวคงคลังที่ยังเหลืออยู่จากนโยบายจĞำนĞำข้าวของรัฐบาลที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิ