translation
dict |
---|
{
"en": "The aimed of this research were to develop the Problem solving training program based on Acceptance and Commitment Therapy in adolescents and young adults with amphetamine addiction (PST-ACT) and to test the effectiveness of the PST program. The sample consisted of 30 men with amphetamine addiction, in Pianpitak Drug Free House, Amphoe Phanom Sarakham, Chachoengsao, age 14-25 years old. The sample was randomized by using random assignment and matching into two groups: an experimental and a control group, 15 persons in each group. The research instruments were 1) the PST-ACT program, which was design by the researcher. 2) The Social Problem Solving Inventory Revised-short from: SPSI-R short from Thai version. 3) The Wisconsin card sorting (WCST-64). The experimental group received the PST program 3 times per week and the control group received the drawing activities during the same period. The assessments were done in 3 phases: pretest, posttest and follow-up. The data were statistically analyzed by utilizing a repeated measures analysis of variance and paired-different test by Bonferroni method.\nThe results revealed that the interaction between the experimental methodology and the dura amphetamine addiction in the experimental group had the mean score of problem solving higher the those in the control group in the posttest and follow-up with statistically significant at .05 level. Adolescents and young adults with amphetamine addiction in the experimental group had the mean score of problem solving in the posttest and follow-up higher than the pretest with statistically significant at .05 level. It was concluded that the PST-ACT program had the effectiveness on enhancing problem solving in adolescents and young adults with amphetamine addiction.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรมฝึกคิดแก้ปัญหาโดยทฤษฎีการยอมรับและพันธะสัญญาในวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ตอนต้นที่เสพติดสารแอมเฟตามีนและเพื่อทดสอบประสิทธิผลของโปรแกรมฝึกคิดแก้ปัญหาของวัยรุ่นและผู้ใหญ่ตอนต้นที่เสพติด สารแอมเฟตามีน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ชาย ที่เคยใช้สารเสพติดประเภทแอมเฟตามีนที่มีอายุระหว่าง 14-25 ปีและอยู่ในสถานบาบัด ฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด บ้านเพียรพิทักษ์ อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จานวน 30 คน สุ่มอย่างง่ายและจับคู่คะแนนเป็นก ลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คนเครื่องมือวิจัยได้แก่ 1)โปรแกรมฝึกคิดแก้ปัญหาโดยทฤษฎีการยอมรับและพันธะสัญญา ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 2)แบบวัดการคิดแก้ปัญหาทางสังคมฉบับปรับปรุงแบบสั้น ฉบับภาษาไทยและ 3)แบบทดสอบวิสคอนซินการ์ด ซอร์ติ้ง 64 กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมฝึกคิดแก้ปัญหาโดยทฤษฎีการยอมรับและพันธะสัญญา จานวน 9 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้ง 3 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับกิจกรรมการวาดภาพ การประเมินการคิดแก้ปัญหาแบ่งเป็น 3 ระยะได้แก่ ก่อน การทดลอง หลังการทดลองและติดตามผล 2 สัปดาห์ สถิติที่ใช้คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้าหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่มและทดสอบความแตกต่างรายคู่แบบบองเฟอรอนี\nผลการวิจัยพบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาของการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วัยรุ่นและผู้ใหญ่ตอนต้นที่เสพติดสารแอมเฟตามีนที่ได้รับโปรแกรมฝึกคิดแก้ปัญหาโดยทฤษฎีการยอมรับและพันธะสัญญามีการคิดแก้ปัญหาสูงกว่ากลุ่มควบคุมทั้งหลังการทดลองและเมื่อสิ้นสุดการติดตามผลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05และกลุ่มทดลอง มีการคิดแก้ปัญหาหลังการทดลองและเมื่อสิ้นสุดการติดตามผลสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ ว่าโปรแกรมฝึกคิดแก้ปัญหาโดยทฤษฎีการยอมรับและพันธะสัญญามีประสิทธิภาพในการเพิ่มทักษะการคิดแก้ปัญหาของวัยรุ่นและ ผู้ใหญ่ตอนต้นที่เสพติดสารแอมเฟตามีน"
} |
{
"en": "The objective of the research was to developed the model for internal factors promotion to protect drug substances abuse of female adolescents. The step to create the model were review literature, pilot study about how to adolescents exposed to illicit drugs in Thailand, field study by In-depth interview expertise in branch illicit drugs prevention and treatment, parents and teachers. Moreover did focus group in high risk female adolescents after that analyzed data to do draft model. Evaluated standard of the model by 10 expertise. The name of the model was “POInT In Trust Me Model” Components of the model were Principle of the model = P, Objective of the model = O, Instructor = In, Target group = T, Information /Content of the model = In,Trust activity = Trust and Model evaluation = Me Standard of the model was very good (mean = 3.9, Total 5 scores) and performance manual was very good (mean = 3.71, Total 5 scores)",
"th": "ในการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมปัจจัยภายในตัวบุคคลในการป้องกันการใช้สารเสพติด ของวัยรุ่นหญิงกลุ่มเสี่ยงโดยมีขั้นตอนการพัฒนารูปแบบดังนี้ ทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ศึกษานาร่อง (Pilot study)เส้นทางสู่ การติดสารเสพติดของวัยรุ่นในประเทศไทย\nศึกษาจากบริบทจริงโดยสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญ ครู พ่อแม่ ผู้ปกครองและวัยรุ่นหญิง นาผลจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล มายกร่างรูปแบบฯ นาไปให้ผู้เชี่ยวชาญวิพากษ์และประเมินรูปแบบ หลังจากนั้นปรับปรุงและจัดทารูปแบบ ซึ่งรูปแบบที่ได้ มีองค์ประกอบดังนี้ 1) หลักการของรูปแบบ 2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบฯ 3. ผู้ใช้กิจกรรม 4. กลุ่มเป้าหมาย 5.เนื้อหาของรูปแบบฯ 6. กิจกรรม Trust 7. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของรูปแบบฯ ซึ่งเรียกว่ารูปแบบว่า POInT In Trust Me Model ผลการประเมินรูปแบบภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมอยู่ที่ 3.9 (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ประเมินคู่มือและการดาเนินกิจกรรมตามรูปแบบ อยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมอยู่ที่ 3.71 (คะแนนเต็ม 5 คะแนน)"
} |
{
"en": "This study was quasi-experimental research with a two group pretest-posttest design aimed at assessing the effects of the self-efficacy and survivorship plan enhancement program in acute breast cancer survivors during treatment. The subjects were patients who had been diagnosed with breast cancer after surgical treatment. The subjects were monitored for post operation outcomes at Siriraj Breast Clinic, Siriraj Hospital. The first 32 subjects were purposively divided into a control group and the other 32 subjects wererecruited as an experimental group. Data collection by the following tools: 1) a demographic data recording form, 2) a perceived self-efficacy questionnaire, and 3) a questionnaire on life planning for breast cancer survivors during treatment. Data were collected 2 times when patients came to the first visit after surgery and four weeks later. Data were analyzed by using descriptive statistics and variances between groups were compared with Paired t-test, Independent t-test and ANCOVA.\nAccording to the findings, posttest score of perceived self-efficacy and survival planning foracute breast cancer in the experimental group was significant higher than that of the control group (p < 0.00). Therefore, the finding from the study confirm the program should apply to acute breast cancer survivorsfor enhancing survivorship plan.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi experimental research design)แบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลัง (Two group pretest-posttest design)เพื่อประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนและแบบแผน การวางแผนชีวิตในผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านมในระยะระหว่างการรักษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้า นมหลังได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดและเข้ามารับการติดตามผลการรักษาหลังผ่าตัดที่หน่วยตรวจรักษาเต้านมศิริราชโรงพยาบาล ศิริราชแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม จานวน 32 รายและกลุ่มทดลอง จานวน 32 รายเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลประกอบด้วย 1)แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2)แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน 3)แบบสอบถามการวางแผนชีวิต สาหรับผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านมในระหว่างการรักษาเก็บข้อมูล 2 ระยะ คือ ระยะหลังผ่าตัดที่ผู้ป่วยนัดมาเปิดแผลและฟังผล ชิ้นเนื้อครั้งแรกและในสัปดาห์ที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วย สถิติ Paired T-test สถิติ Independent T-testและการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA)\nผลการศึกษาพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนและการวางแผนชีวิตในผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านมในระยะระหว่างการ รักษาภายในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p0.00) ดังนั้นควรนาโปรแกรมนี้มาใช้ในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะหลังผ่าตัดซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยอย่างมากในการวางแผนการดูแลตนเองเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นต่อไป"
} |
{
"en": "In this dissertation, the researcher studies (1) how the elderly use necessary cognitive skills in addition to developing (2) a cognitive skills training curriculum for the elderly. Finally, furthermore (3) the curriculum developed by the researcher is evaluated. The sample population consisted of 420 elderly persons who were participants in Elderly Clubs at Public Health Centers in Bangkok Metropolis. The research instrument was a questionnaire eliciting data appertaining to the necessary cognitive skills of the elderly, The curriculumdeveloped and constructed, and a self-evaluation questionnaire concerning cognitive skills. The researcher analyzed in terms of mean (M), standard deviation (SD) and t test dependent.\nThe research finding: (1) The elderly exhibited levels of opinions regarding international competencies in an overall picture and in all aspects at a high level. (2) The development of training curriculum cognitive skills of seniors that includes course outlines the problems and needs. The goal-oriented behavior this sort of content learning activities how to measure and evaluate curriculum consists of learning units 4 units, each unit consisting of (1) the elderly with changing health status, (2) the health of the elderly (3) solving the problem of the elderly (4). adaptation of the elderly the checks are appropriate to the level and the most consistent of all the elements. (3) Seniors are cognitive skills, overall and after using the formula training than before training curriculum at a statistically significant level. 05. The elderly participants were satisfied to take a training course to improve their overall cognitive at a high level.",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1)เพื่อศึกษาการใช้ทักษะทางปัญญาที่จาเป็นของผู้สูงอายุ (2)เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ทักษะทางปัญญาของผู้สูงอายุ (3)เพื่อประเมินหลักสูตรฝึกอบรมทักษะทางปัญญาของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุ จากชมรม ผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณะสุข พื้นที่กรุงเทพมหานคร จานวน 420 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถามสารวจการใช้ทักษะทางปัญญาที่จาเป็นของผู้สูงอายุโครงร่างหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นและแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับทักษะทางปัญญา วิเคราะห์ ข้อมูลโดยการคานวณหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที\nผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้สูงอายุ มีระดับความจาเป็นเกี่ยวกับทักษะทางปัญญาที่จาเป็นในภาพรวมและทุกด้าน อยู่ใน ระดับมาก (2) การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมทักษะทางปัญญาของผู้สูงอายุ พบว่าโครงร่างหลักสูตรฝึกอบรมประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ 4 หน่วยได้แก่ (1) ผู้สูงอายุกับการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพ (2) การสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ (3) การคิดแก้ปัญหา ของผู้สูงอายุและ(4) การปรับตัวของผู้สูงอายุ ผลตรวจสอบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุดและมีความสอดคล้องกัน ทุกองค์ประกอบและ (3) ผู้สูงอายุมีทักษะทางปัญญาในภาพรวมและทุกด้านหลังใช้สูตรฝึกอบรมสูงกว่าก่อนใช้หลักสูตรฝึกอบรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05และ ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรฝึกอบรมพัฒนาทักษะทางปัญญาโดยภาพรวมและทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุดแสดงว่าหลักสูตรมีความเหมาะสมในการนาไปใช้พัฒนาทักษะทางปัญญาของผู้สูงอายุ"
} |
{
"en": "This quasi-experimental research aims to examine the labor support program on pain-copingbehavior and childbirth experience among primiparous women who received oxytocin. Sample were 50primiparous women who received oxytocin and attended at delivery room, Samudprakan Hospital. Purposive sampling was used to recruit sample. They were divided into an experimental group (n = 25) and a control group (n = 25). The experimental group received labor support program and routine nursing care. The controlgroup received routine nursing care. Research instruments used to collect the data composed of personal and obstetric information, pain-coping behavior observation form and the perception of childbirth experiencequestionnaire. The data were analyzed by using descriptive statistics and independent t-test.\nThe findings revealed that the experimental group had significantly higher pain-coping behavior both cervical dilation 5-7 centimeter and 8-10 centimeter than the control group (t48 = 15.88, p < .001 andt48 = 24.50, p < .001, respectively) and had significantly higher childbirth experience than the control group(t48 = 22.7, p < .001). This study confirmed the effective of the labor support program could increasepain-coping behavior and childbirth experience. Therefore, hospitals should be used this program to care laboring women who received oxytocin.",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนในระยะคลอดต่อพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดและประสบการณ์การคลอดในผู้คลอดครรภ์แรกที่ได้รับยาออกซิโทซิน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดครรภ์แรกที่ได้รับยาออกซิโทซิน ที่มารับบริการ ณ ห้องคลอดโรงพยาบาลสมุทรปราการ จานวน 50 รายเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงแบ่งเป็นกลุ่ม ทดลอง 25 รายและกลุ่มควบคุม 25 ราย กลุ่มทดลองได้รับการสนับสนุนในระยะคลอดร่วมกับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่ม ควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูล ทางสูติศาสตร์แบบสังเกตพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดและแบบสอบถามการรับรู้ประสบการณ์การคลอด วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบค่าทีแบบอิสระ\nผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดระยะปากมดลูกเปิด 5-7เซนติเมตรและ 8-10เซนติเมตร ดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (t48 = 15.88, p < .001และ t48 = 24.50, p < .001 ตามลาดับ)และมีประสบการณ์การคลอดดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (t48 = 22.7, p < .001) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า การสนับสนุนในระยะคลอดทาให้ผู้คลอดมีพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดและประสบการณ์การคลอดดีขึ้น ดังนั้นโรงพยาบาล ต่างๆ ควรนาโปรแกรมนี้ไปใช้ในการดูแลผู้คลอดที่ได้รับยาออกซิโตซิน"
} |
{
"en": "This research was quasi experimental study. The purposes were to study the result of palliative care to quality of life of people who living with end stage renal disease in community. The samples were selected by purposive sample with inclusion criteria. 35 end stage renal disease patients in 1 group pretest and posttest in palliative care. The instruments were composed of 1) General information and symptom 2) QoL question- naire of Ferrans and Powers Dialysis version-III with content validity = 0.65, reliability with Cronbach’s alpha coefficient = 0.843. 3) Evaluation form of palliative care 4) Meditation healing exercise of SKT. The steps in palliative care composed of following 1) making relationship, 2) making understanding 3) making mindfulness 4) making acceptance and bereavement care. Descriptive statistics analysis and inferential statistics analysis for hypothesis testing by using readiness program. Pairt-Test in pretest and posttest of quality of life in palliative care.\nThe result found that 71.4% was woman, 57.14% was the average age at 70 years old, 77.1% was primary level of education, 57.1% of patients had social welfare with gold card care. The symptom of the end stage renal disease patient before and after found that itching had significant difference (p-value at .048). Comparison before and after palliative care had quality of life in health functioning, psychological spiritual, and family significant difference (p value < .05). There was no significant difference of Social Economic quality of life.\nConclusion, palliative care for people who living with end stage renal disease in community composed of the steps of making Relationship, Understanding, Mindfulness, Acceptance that were supported in working within understanding the context of community and led to develop quality of life in their envelopment.",
"th": "งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการพยาบาลแบบประคับประคองต่อคุณภาพชีวิตของ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในชุมชน กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเจาะจงจานวน 35 คนโดยแบ่งเป็น 1 กลุ่ม ทดสอบก่อนและหลังให้การพยาบาลแบบประคับประคองเครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) ข้อมูลทั่วไปและอาการทางกาย 2)แบบสอบถามคุณภาพชีวิต ของ Ferrans and Powers Dialysis version-III มีค่าความเที่ยงตรง = 0.65และมีค่าความเชื่อมั่น = 0.84 3)แบบประเมินผล การพยาบาลแบบประคับประคอง 4) วิธีปฏิบัติสมาธิเพื่อการเยียวยาแบบ SKT ขั้นตอนในการพยาบาลแบบประคับประคอง ประกอบด้วย 1)เทคนิคอุ่นใจ 2)เทคนิคเข้าใจ 3)เทคนิคทาใจ 4)เทคนิคปลงใจและการพยาบาลหลังการสูญเสีย (Bereavement) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบสมมติฐานโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป Pairt-Test ของคุณภาพชีวิตก่อนและ หลังการพยาบาลแบบประคับประคอง\nผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายส่วนใหญ่ร้อยละ 71.4เป็นผู้หญิง ร้อยละ 57.14 มีอายุเฉลี่ย 70 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 77.1 มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา ร้อยละ 65.7เป็นผู้ป่วยใช้สิทธิบัตรทอง ส่วนอาการทางกายของ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายก่อนและหลังการพยาบาลแบบประคับประคอง พบว่า อาการคันตามตัวมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ ที่ค่า p-value ที่ 0.048 จากการเปรียบเทียบก่อนและหลังให้การพยาบาลแบบประคับประคอง คุณภาพชีวิต ด้านร่างกายและการทาหน้าที่ ด้านจิตใจและจิตวิญญาณ ด้านครอบครัว พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p value < .05) ส่วนคุณภาพชีวิตด้านสังคมและเศรษฐกิจพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน\nสรุปผลของการพยาบาลแบบประคับประคองสาหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในชุมชนด้วยเทคนิคอุ่นใจเข้าใจ ทาใจและปลงใจเป็นแนวทางให้การทางานในชุมชนมีขั้นตอนที่นาไปสู่ความเข้าใจบริบทของผู้ป่วยและครอบครัวและนาไปสู่การ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีในสิ่งแวดล้อมของตนเอง"
} |
{
"en": "This quasi-experimental research purpose to study effect of Parents Participation Program and Capacity Building Parents in Nasal irrigate on the Child Caring Behaviors Among Parents of Pre-school Children with Allergic Respiratory Diseases. The sample consisted of 51 parents select the sample according to the specifications. The experimental group 26 parents received parents participation program and capacity building parents in nasal irrigate and the control groups 25 parents received regular caring. The instruments used in this study consisted of the parents participation program and capacity building parents in nasal irrigate and the questionnaire on the child caring behaviors among parents of pre-school children with allergic respiratory diseases. Data were analyzed using descriptive statistics, independent t-test and paired t-test.\nThe findings of this study revealed that: 1. The child caring behaviors among parents of pre-school children with allergic respiratory mean score of the parents in the experimental group after participation in the parents participation program and capacity building parents in nasal irrigate was statistically significant higher than the control group (p< .05) 2. The child caring behaviors among parents of pre-school children with allergic respiratory mean score of the parents in the experimental group after participation in the parents participation program and capacity building parents in nasal irrigate was statistically significant higher than their score before participating in the program (p<.05) The results of this study indicate that the parents participation program and capacity building parents in nasal irrigate promote parents to increased the child caring behaviors among parents of pre-school children with allergic respiratory.",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมและพัฒนาความสามารถผู้ปกครองในการ ล้างจมูกเด็กต่อพฤติกรรมการดูแลเด็กก่อนวัยเรียนโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ กลุ่มตัวอย่าง จานวน 51 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ตามคุณสมบัติที่กาหนดแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 26 ราย ซึ่งได้รับโปรแกรมการมีส่วนร่วมและพัฒนาความสามารถผู้ปกครองในการ ล้างจมูกเด็ก กลุ่มควบคุม 25 รายซึ่งได้รับการดูแลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการมีส่วนร่วมและ พัฒนาความสามารถผู้ปกครองในการล้างจมูกเด็กและแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลเด็กก่อนวัยเรียนโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ ของผู้ปกครอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที\nผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลเด็กก่อนวัยเรียนโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจของผู้ปกครองกลุ่มทดลองภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมการมีส่วนร่วมและพัฒนาความสามารถผู้ปกครองในการล้างจมูกเด็กสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p< .05) 2. คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลเด็กก่อนวัยเรียนโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจของผู้ปกครองกลุ่มทดลองภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมการการมีส่วนร่วมและพัฒนาความสามารถผู้ปกครองในการล้างจมูกเด็กสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (p<.05) ผลการศึกษาแสดงว่าโปรแกรมการมีส่วนร่วมและพัฒนาความสามารถผู้ปกครองในการล้างจมูกเด็ก สามารถส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีพฤติกรรมการดูแลเด็กก่อนวัยเรียนโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจดีขึ้น"
} |
{
"en": "This descriptive research was aimed to explore therapeutic footwear wearing behaviors among personswith diabetes who received therapeutic footwear and their health belief perceptions. The sample groupcomposed of 80 Diabetes persons who had their routine followed up visit and received therapeutic footwear at chronic cound clinic of the surgical outpatient unit of Ramathibodi Hospital. Data were analyzed using descriptive statistics, content analysis, and Spearman rank correlation coefficient. Research results andadditional analysis showed that most persons with diabetes had medium to high therapeutic footwear wearing behaviors. Perceptions on risk of Diabetic foot ulcer, severity of diabetic foot ulcer, benefits of therapeutfootwear wearing were at high levels and significantly positively related to wearing therapeutic footwearbehaviors (r = 0.272 p < .05, r = 0.239 p < .05, r = 0.564 p < .01, respectively), whereas perception of theobstacles for wearing therapeutic footwear was at a low level and was significantly negatively related to therapeutic footwear wearing behaviors, (r = -0.519, p < .01).\nThese research finding can be utilized in nursing plans, especially in patients with high risk forDiabetic foot ulcer for appropriate therapeutic footwear wearing behaviors to reduce incidence of diabeticfoot ulcers and amputations.",
"th": "การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสวมใส่รองเท้าของผู้เป็นเบาหวานที่ได้รับการตัดรองเท้าเฉพาะผู้เป็นเบาหวานและการรับรู้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างคือผู้เป็นเบาหวานที่มาตรวจเท้าและได้รับการตัด รองเท้าเฉพาะผู้เป็นเบาหวาน ณโรงพยาบาลรามาธิบดี จานวน 80 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่าผู้เป็นเบาหวานส่วนใหญ่มีความสม่าเสมอในการสวมใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะ ผู้เป็นเบาหวานอยู่ในระดับปานกลาง-มาก มีการรับรู้ความเสี่ยง ความรุนแรงของการเกิดแผลเท้าเบาหวานและประโยชน์ของ การสวมใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะผู้เป็นเบาหวานในระดับมาก ส่วนอุปสรรคของการสวมใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะผู้เป็นเบาหวานมีการรับ รู้อยู่ในระดับน้อย ผลการวิเคราะห์เพิ่มเติม พบว่า การรับรู้ความเสี่ยงของการเกิดผลเท้าเบาหวาน การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดแผลเท้าเบาหวานและการรับรู้ประโยชน์ของการสวมใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะผู้เป็นเบาหวานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการ สวมใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะผู้เป็นเบาหวาน (r = 0.272 p < .05, r = 0.239 p < .05, r = 0.564 p < .01 ตามลาดับ) ส่วนการรับรู้ อุปสรรคของการสวมใส่รองรองเท้าที่ตัดเฉพาะผู้เป็นเบาหวานมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการสวมใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะ ผู้เป็นเบาหวาน (r = - 0.519, p < .01)\nผลการศึกษาจะเป็นข้อมูลสาคัญสู่การวางแผนการพยาบาลเพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานกลุ่มเสี่ยงสูงสวมใส่รองเท้าที่ตัดเฉพาะ ผู้เป็นเบาหวานสม่าเสมอลดความเสี่ยงในการเกิดแผลที่เท้า"
} |
{
"en": "This research is a quasi-experimental research design were used nonequivalent comparison-group design. The objectives were to compare symptom severity of patients with bipolar disorder before and after receiving the psycho-education combined with social media program and compare symptom severity of patientswith bipolar disorder after receiving the psycho-education combined with social media program to patients who are received regular nursing care. The samples were 40 patients with bipolar disorder who were the out patients of Nakornratchasima Rajanagarindra Psychiatric Hospital. The patients were matched pair with genders, depression level scores, and mania level scores, and also samples to experimental group, consisting of 20 subjects while the control group of 20 subjects. The research instruments comprised: 1) psycho-education combined with internet supported program, 2) Brief Bipolar Disorder Symptom Scale, 3) Knowledge on Bipolar Disorder Test, 4) Self-management Interview for Bipolar Disorder, 5) Hamilton Rating Scale for Depression, and 6) Thai Mania Rating Scale. All instruments had been validated the content from five experts. The validity, Cronbach’s alpha coefficient of instrument 2 was .85 respectively. T-test was used to analyze data.\nThe results showed that symptom severity of patients with bipolar disorder after receiving the psycho-education combined with social media program was lower than before receiving the program at a .05 level of significance and symptom severity of patients with bipolar disorder receiving the psycho-education combined with social media program was lower than the patients who were received regular nursing care at a .05 level of significance",
"th": "การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง วัดสองกลุ่มก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรุนแรงของ อาการในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วก่อนและหลังได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาร่วมกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์และเปรียบเทียบความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วหลังได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาร่วมกับการใช้สื่อสังคม ออนไลน์กับผู้ป่วยที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วที่มารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ จานวน 40 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลองจานวน 20 คนและกลุ่มควบคุมจานวน 20 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1)โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาร่วมกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 2)แบบประเมินความรุนแรงของอาการ (Brief Bipolar Disorder Symptom Scale) 3)แบบประเมินความรู้เรื่องโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว 4)แบบสัมภาษณ์การจัดการ กับอาการด้วยตนเอง 5)แบบประเมินอาการซึมเศร้า (Hamilton Rating Scale for Depression)และ 6)แบบประเมินอาการ คลุ้มคลั่ง (Thai Mania Rating Scale)เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่านเครื่องมือ ชุดที่ 2 มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือสถิติทดสอบที (t-test)\nผลการศึกษาพบว่าความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วหลังได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาร่วม กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วที่ได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาร่วมกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์น้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตาม ปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05"
} |
{
"en": "The research and development aim to study and develop a rehabilitation for female drug dependent. The FAST Model for women was investigated then the result was integrated with reviewing the related literature. The comparison between the new model of the rehabilitation for women and the FAST Model was conducted. The participants for the current research comprised of the female drug dependent and their relatives. Each was separated into two groups, an experimental group and control. The data were gathered by a questionnaire. The statistics applied for analyzing data combined with content analysis content analysis, descriptive statistics, paired t-test, independent t-test, Chi-square, Fisher extract and Man – Whitney test. An alpha of 0.05 was used as the cut-off for significance.\nThe result found that the FAST model still had weak points needed to be considered. Those issues were resolved and applied as a ground theory for developing the new rehabilitation model. In the experiment revealed that the self-esteem, the intention of preventing in relapse, and the satisfaction on treatmentactivities of the experimental groups were significantly higher than controls at .05. After one month of thefollowing up, the abstinent rate in the experimental group is higher than control at .05. The relativesof the female patients in the experimental group moreover showed a better attitude toward the patients.The relatives showed better satisfaction in the treatment activities compared with control at .05.",
"th": "การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการบาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยหญิงเสพติดโดย การประเมินรูปแบบการบาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพรูปแบบ FAST modelในผู้ป่วยหญิงเสพติดแล้วนาข้อมูลที่ได้ร่วมกับการทบทวน วรรณกรรมมาพัฒนารูปแบบการบาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยหญิงเสพติดและศึกษาผลของรูปแบบการบาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ ป่วยหญิงเสพติดเปรียบเทียบกับการบาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพรูปแบบแบบ FAST model กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยหญิงเสพติด กลุ่ม ญาติผู้ป่วยหญิงเสพติดแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงพรรณนาและสถิติ Paired t test, Independent t- test, Chi-square, Fisher extractและMann Whitney test ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05\nผลการศึกษา พบว่า รูปแบบการบาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพรูปแบบ FAST model ยังมีประเด็นที่ควรพัฒนา จึงนามาพัฒนา ต่อได้รูปแบบการบาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยหญิงเสพติดและเมื่อดาเนินการทดลอง พบว่าผู้ป่วยหญิงเสพติดกลุ่มทดลองมีความ รู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความตั้งใจในการป้องกันการเสพติดซ้าและความพึงพอใจต่อกิจกรรมการฟื้นฟูฯ ดีกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05และเมื่อติดตามหลังจาหน่ายออกจากสถานบาบัด นาน 1เดือน พบว่ากลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการไม่เสพติดซ้าสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนญาติผู้ป่วยกลุ่มทดลอง พบว่ามีทัศนคติต่อผู้ป่วยหญิงเสพ ติดและมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการฟื้นฟูฯ ดีกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05"
} |
{
"en": "The study aimed to investigate the effects of self-efficacy and family support promotion program on overweight among junior high school students by using Quasi-Experimental Research Designs, two grouppretest-posttest to examine. The sample were overweight Mathayomsuksa II students. 60 student which are 30 student for control group and 30 students for experimental group. The instruments were the body weight record and the food consumption and physical activity questionnaire. The questionnaire was evaluated for content validity by three experts. CVI was 0.84. Cronbach’s alpha coefficient was 0.75. The statistics utilized for analysis were descriptive statistics; chi-square, and t-test (p < .05)\nThe result showed that after participating in the self-efficacy and family support promotion program, The experimental group had higher average scores of food consumption and physical activity behaviors with the statistical significance at the p-value of .002 and .001 respectively. The scores were more than those of the control group, but they were not statistical significant with the p-value of .655 and .863 respectively. Finally, after participating in the program, the number of overweight students also decreased. Health-promotingpersonnel could apply this program by working cooperatively with the teacher in order to apply this program in classroom teaching.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนร่วมกับการสนับสนุน ของครอบครัวต่อภาวะโภชนาการเกินในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้การวิจัยกึ่งทดลอง ประเภทแบบแผนการวิจัยสอง กลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีภาวะโภชนาการเกิน จานวน 60 คนแบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 30 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 30 คนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกน้าหนัก-ส่วนสูงและแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการออกกาลังกาย ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรง คุณวุฒิจานวน 3 ท่าน ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาได้ 0.84 ตรวจสอบความเชื่อมั่นโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคได้ค่าเท่ากับ 0.75 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย สถิติ chi-squareและ t-test ที่ระดับการมีนัยสาคัญทางสถิติ .05\nผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัว กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการออกกาลังกายมากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯอย่างมีนัย สาคัญทางสถิติที่ระดับ .002และ .001 ตามลาดับและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบแต่ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .655และ .863 ตามลาดับและมีจานวนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ ดังนั้นพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสามารถนาโปรแกรมนี้ไปประสานงานกับครูเพื่อประยุกต์ใช้สอนในชั้นเรียนได้"
} |
{
"en": "The purpose of this study was to investigate the component of organizational citizenship behavior of professional nurses, private hospitals Data were collected from the sample consisting of 364 staff nurses who had worked for at least one year experience from 3 private hospitals which accredited by joint commission international. Participants were recruited by multi-stage sampling. The research instrument was an organizational citizenship behavior of professional nurse questionnaire. The instrument was tested for content validity by five experts and cronbach’s alpha coefficient was 0.96. The data were analyzed using principle component extraction and orthogonal with varimax method.\nThe findings were as follows: Four significant components of organizational citizenship behavior of professional nurse, private hospital were identified. There were 32 items that accounted for 67.20%which were identified respectively 1. Civic virtue and Self-development by 10 items accounted for 19.85%2. Conscientiousness by 8 items accounted for 18.52% 3. Courtesy and Sportsmanship by 8 items accounted for 15.09% 4. Altruism by 6 items accounted for 13.74%",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 1 ปีขึ้นไปและปฏิบัติ งานในโรงพยาบาลเอกชนเขตกรุงเทพมหานครที่ผ่านการรับรองมาตรฐานระดับสากล จานวน 3โรงพยาบาล จานวน 364 คนได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชน ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คนและหาค่าความเที่ยงของเครื่อง มือที่ใช้สูตรประสิทธ์แอลฟาครอนบาคได้ค่าความเที่ยง .96 วิเคราะห์องค์ประกอบด้วยวิธีการสกัดตัวประกอบหลัก หมุนแกน ตัวประกอบแบบออโธโกนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์\nผลการวิจัยสรุปได้ว่า องค์ประกอบพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชน มี จานวน 4 องค์ประกอบ บรรยายด้วย 32 ตัวแปร ค่าผลรวมความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 67.20ได้แก่ 1) ด้านการให้ความร่วม มือและด้านการพัฒนาตนเองอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุด คือร้อยละ 19.85 ประกอบด้วย 10 ตัวแปร 2) ด้านการมีความ สานึกในหน้าที่ มีค่าความแปรปรวน ร้อยละ 18.52 ประกอบด้วย 8 ตัวแปร 3) ด้านการคานึงถึงผู้อื่นและด้านความอดทนอดกลั้น มีค่าความแปรปรวน ร้อยละ 15.09 ประกอบด้วย 8 ตัวแปรและ 4) ด้านการให้ความช่วยเหลือ มีค่าความแปรปรวนน้อยที่สุดคือ ร้อยละ 13.74 ประกอบด้วย 6 ตัวแปร"
} |
{
"en": "This study aimed to develop the video media of school health services. Samples were 4 th year nursing students who registered in a community health nursing course (n = 50). A research instrument was questionnaires. Data was analyzed using descriptive statistic; percentage, average, and standard deviation.\nThe results showed that most of the samples rated the usability and the users’ satisfaction scores in high level. The usability scores ranged from 4.54 to 4.80 (a total score was 5). Similarly, the average score of the users’ satisfaction ranged from 4.36 to 4.86 (a total score was 5). The results indicated that the video media was useful for nursing students in order to study the principle of school health services.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสื่อวีดิทัศน์การให้บริการอนามัยโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญา ตรี คณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการฝึกปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน จานวน 50 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\nผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ประเมินความสามารถในการใช้งานของสื่อวีดิทัศน์และความพึงพอใจต่อสื่อวีดิ ทัศน์ในระดับมากและมากที่สุดโดยคะแนนความสามารถในการใช้งานของสื่อวีดิทัศน์มีค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.54 ถึง 4.80 (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) คะแนนความพึงพอใจต่อสื่อวีดิทัศน์มีค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.36 ถึง 4.86 (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าวีดิทัศน์ ที่ถูกพัฒนาขึ้นมีประโยชน์ต่อนักศึกษาพยาบาลในการศึกษาหลักการให้บริการอนามัยโรงเรียน"
} |
{
"en": "The objective of the Mixed Methods Research was to study the results of the potential development of the elderly caregivers and the opinions of the related persons about the potential of elderly caregivers after completing one year of training. Sample group is Village public health volunteers who passed 107 elderly care curricula, 10 elderly care users. The research instrument was a potential questionnaire for elderly caregivers and interviewing elderly caregivers. Using statistics, percentage, mean and standard deviation.\nThe research reveals that the samples were knowledgeable about chronic diseases and care for the elderly after being trained at a high level. 83.1%. 10.2% were at a moderate level, and 6.5% were at low level. the elderly caregivers had overall skills in elderly care management and the level of satisfaction was high level ( = 3.98, S.D. = 0.88) The high motivation in managing elderly care was overall high ( = 4.09, S.D. = 0.87) The self-concept in caring for the elderly was overall at a high level ( = 3.88, S.D. = 0.80) The good quality in caring the elderly was at a high level ( = 4.36, SD = 0.63).\nBased on interviews with related people, it was found that Caregivers have more knowledge, know their roles and duties. The caregivers can correctly evaluate the elderly ’s symptoms by using what they have been trained. They also having caring skills in for the bed-ridden elderly, and the caring caused the elderly ‘s improvement can be the motivation and pride that makes the caregivers of the elderly have the intention to continue working.",
"th": "งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยแบบผสมผสานแบบ Mixed Methods Research มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนา ศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุและความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุหลังจากเสร็จสิ้นการอบรม 1 ปี กลุ่มตัวอย่างคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ จานวน 107 คน ผู้ใช้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ จานวน 10 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและแบบสัมภาษณ์ผู้ดูแลผู้สูงอายุใช้สถิติจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\nผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เรื่องโรคเรื้อรังและการดูแลผู้สูงอายุหลังจากได้รับการอบรมอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 83.1 อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 10.2และอยู่ในระดับต่า ร้อยละ 6.5 มีทักษะการปฏิบัติในการจัดการช่วยเหลือดูแล ผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 3.98, S.D. = 0.88) มีแรงจูงใจในการจัดการช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 4.09, S.D. = 0.87) มีอัตมโนทัศน์ในการดูแลผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 3.88, S.D. = 0.80) มีลักษณะที่ดีในการ ดูแลผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 4.36, S.D. = 0.63)\nจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องพบว่า ผู้ดูแลมีความรู้เพิ่มขึ้นรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง นาความรู้ที่ได้รับประเมินอาการ ผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง มีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่นอนติดเตียงและการดูแลที่ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีอาการดีขึ้นจึงเป็นแรงจูงใจและ ความภาคภูมิใจที่ทาให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความตั้งใจในการทางานต่อไป"
} |
{
"en": "This quasi-experimental study sought to examine the effectiveness of the parental competencies and developmental stimulation program by playing, on knowledge, parental behavior and adaptive behavior of children with autism. The autistic children (2-5 years) were randomly assigned to either the experimental or the control group. The parent and autistic children, who met the inclusion criteria and consented/assented to take part in the study, included 16 autistic children/parent dyads in the experimental group and 16 student/ parent dyads in the control group. Instruments for data collection included: An Autistic Child Care Knowledge Corresponding author: *Email: [email protected] วันที่รับ (received) 18 พ.ย. 61 วันที่แก้ไขเสร็จ (revised) 1 ธ.ค. 61 วันที่ตอบรับ (accepted) 20 ธ.ค. 61 312 ประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างศักยภาพครอบครัวและส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็กโดยการเล่น ต่อความรู้ การดูแลเด็กของพ่อแม่ และพฤติกรรมการปรับตัวของเด็กออทิซึม Questionnaires, Autism Parental Behavior Questionnaires, and Vineland Adaptive Behavior Scales. Descriptive statistics, dependent t-test, independent t-test, and mean difference were used to test the effectiveness of the parental competencies and developmental stimulation program.\nThe results demonstrated the positive effects of this program on parental behavior and adaptive behavior of children with autism. The results indicated statistical significance in mean difference scores of the Autism parental behavior and Autism adaptive behavior only (respectively, t = 4.76, p< .001; t = 2.67, p<.001). Moreover, findings presented enhancing of parental competencies and child positive adaptation and decrease in perceived caregiver burden in caring for their children with Autism. The program can help them understood children with autism, playing and learn to play with children. Playing should be applied for Autism developmental stimulation. Recommendations for further research include a larger sample size and a longer period for outcome measurements.",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองนี้เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างศักยภาพครอบครัวและส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็กโดยการเล่น ต่อความรู้ พฤติกรรมการดูแลเด็กของพ่อแม่และพฤติกรรมการปรับตัวของเด็กออทิซึม กลุ่มอาสาสมัครจานวน 32 ครอบครัวแบ่งเป็นกลุ่มรับการดูแลปกติและกลุ่มรับโปรแกรม กลุ่มเข้าร่วมโปรแกรม 2 ครั้ง/เดือน ระยะเวลา 3เดือน วิเคราะห์ ข้อมูลส่วนบุคคลโดยใช้สถิติพรรณนาแจกแจงความถี่ ร้อยละเปรียบเทียบผลต่างค่าเฉลี่ยก่อนและหลังเริ่มโครงการระหว่างกลุ่มได้ รับการดูแลปกติและกลุ่มได้รับโปรแกรมโดยใช้สถิติชนิดเป็นอิสระต่อกัน\nการศึกษา พบผลต่างค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลเด็กในกลุ่มได้รับโปรแกรม ( = 4.88) สูงกว่ากลุ่มได้รับการ ดูแลปกติ ( = -3.25) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (t = 4.76, p< .001) ส่วนกลุ่มได้รับโปรแกรมหลังการสิ้นสุดโครงการมีค่าเฉลี่ย ความแตกต่างระหว่างอายุจริงกับอายุประเมินของเด็ก ( = 3.94) น้อยกว่าก่อนเริ่มกลุ่มได้รับการดูแลตามปกติ ( = -.63) อย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ (t = 2.67, p<.01) ข้อมูลจากพ่อแม่ภายหลังร่วมโปรแกรมช่วยให้พ่อแม่ได้เข้าใจเด็กออทิสติก การเล่นและมี ทักษะในการเล่นกับเด็กมากขึ้น ส่งผลช่วยในการปรับตัวต่อความเครียด ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างขนาดเพิ่มมาก ขึ้นและมีการระยะติดตามในศึกษาเพิ่มมากขึ้น"
} |
{
"en": "This research was a comparative descriptive research aimed to study the patient activation level compared with pain, disability and perception of health on post- operative recovery among patients who have undergone lumbar spine surgery. The sample group consisted of 88 male and female patients aged 18 years and older, who had received check-up within 3 months after surgery. Data was collected by questionnaires for measuring 5 factors: Demographic, Patient activation, Pain, Disability, and Perception of Health. Data was analyzed using One Way ANOVA.\nThe findings showed that, majority of the respondents were female (62.5 %), average age of 62.13 (SD = 11.99) years. It was also seen that majority (63.6 %) had spinal stenosis. The sample was divided into 4 levels by patient activation. We found the mean score and Standard deviation for each factor as follows: Patient Activation (58.96 ± 14.06), Pain (3.48 ± 1.65), Disability (25.53 ± 17.19), Perception of physical health (43.50 ± 7.62) and Perception of mental health (53.37 ± 7.26). We found that the different levels of patient activation showed significant difference in Pain, Disability and Perception of mental health (F = 26.24, 4.37, 6.90; p < .05) but there was no significant difference in Perception of physical health (F = 1.97; p > .05)",
"th": "การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเปรียบเทียบเพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างระดับการแสดงออกในการจัดการ ภาวะสุขภาพของผู้ป่วยต่อความเจ็บปวด ภาวะไร้ความสามารถและการรับรู้ภาวะสุขภาพของผู้ป่วยหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับเอวในช่วงติดตามการรักษาภายใน 3เดือน ทั้งเพศชายและเพศหญิงอายุ 18 ปีขึ้นไป จานวน 88 คนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลได้แก่แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบประเมินการแสดงออกในการจัดการภาวะสุขภาพแบบประเมินความเจ็บปวดแบบประเมิน ภาวะไร้ความสามารถแบบประเมินการรับรู้ภาวะสุขภาพ นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยคานวณหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและใช้สถิติการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One Way ANOVA)\nผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 62.5 อายุเฉลี่ย 62.13 ปี (SD = 11.99)และเป็นโรคช่อง กระดูกสันหลังแคบร้อยละ 63.6โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 4 ระดับตามการแสดงออกในการจัดการภาวะสุขภาพซึ่งมีระดับที่ 3 ร้อยละ28.4และระดับที่ 1, 2, 4 ร้อยละ 23.9 มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมของการแสดงออกในการจัดการภาวะสุขภาพ 58.96 (SD = 14.06) ค่าเฉลี่ยความเจ็บปวด 3.48 (SD = 1.65) ค่าเฉลี่ยภาวะไร้ความสามารถ 25.53 (SD = 17.19) ค่าเฉลี่ยการรับรู้ภาวะ สุขภาพทางด้านร่างกาย 43.50 (SD = 7.62)และค่าเฉลี่ยการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านจิตใจ 53.37 (SD = 7.26)โดยที่ระดับ การแสดงออกในการจัดการภาวะสุขภาพแตกต่างกัน มีความเจ็บปวด ภาวะไร้ความสามารถและการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านจิตใจ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (F = 26.24, 4.37, 6.90, p < .05) ส่วนระดับการแสดงออกในการจัดการภาวะสุขภาพ ต่างกันมีการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกายไม่แตกต่างกัน (F = 1.97, p > .05)"
} |
{
"en": "The objective of the research development was to develop health education program for hypertensive patients by applying self-care Theory. The instruments for collecting data were general information query, selfcare knowledge and behavior questionnaire. Sphygmomanometer was used. Data collected before and after using the program for 2 weeks. The samples were 30 hypertensive patients which had high blood pressure (systolic ≥140 mmHg. and diastolic ≥90 mmHg.) Data analyzed by dependent t-test. The study found that Health Education Program composed health education teaching for create knowledge and change behavior about self care on having meal, exercise, stress relief, stop or reduce smoking, alcoholic drinking, correct medication and appointed examination in order to reduce complication of the stroke. Moreover after used the program, samples had higher average scores of self care knowledge and self care behavior with statistical significance at the level of 0.05.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา (Research Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมสอนสุขศึกษา ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงโดยประยุกต์ทฤษฎีการดูแลตนเองเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบสอบถามความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองและเครื่องวัดความดันโลหิตเก็บข้อมูลก่อนการทดลองและหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิงโดยใช้ Dependent t-test กลุ่มตัวอย่างจานวน 30 คน คัดเลือกโดยวิธี การสุ่มแบบเฉพาะเจาะจงโดยมีเกณฑ์คือได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง หรือมีค่าความดันโลหิต Sys- tolic มากกว่าหรือเท่ากับ 140 mmHg.และมีค่าความดัน Diastolic มากกว่าหรือเท่ากับ 90 mmHg.\nผลการวิจัย พบว่าโปรแกรมสอนสุขศึกษาประกอบด้วย การสอนสุขศึกษาเรื่องความดันโลหิตสูงเพื่อให้กลุ่มตัวอย่างมี ความรู้ในการดูแลตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในเรื่อง การรับประทานอาหาร การออกกาลังกาย การผ่อนคลาย ความเครียด การงดหรือลดปริมาณการสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การรับประทานยาอย่างถูกต้องและการตรวจตาม นัดเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคหลอดเลือดสมองเมื่อดาเนินใช้โปรแกรมการสอนสุขศึกษา พบว่า ก่อนและหลังการได้รับโปรแกรม สุขศึกษา ระดับความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < 0.001)โดยระดับคะแนนเฉลี่ยของ ความรู้โรคความดันโลหิตของผู้ป่วยก่อนได้รับโปรแกรมเท่ากับ 10.58 หลังได้รับโปรแกรมสุขศึกษาคะแนนเท่ากับ 19.45และคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยก่อนได้รับโปรแกรมสุขศึกษามีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 21.74 หลังได้รับโปรแกรมสุขศึกษา คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 36.09"
} |
{
"en": "This research and development study aimed to develop nursing care model for severe multiple injury in krabi hospital. Sample consisted of 85 registered nurses using the nursing care model, And all 632 patients with severe multiple injury who were admitted to Krabi Hospital between June 1 st , 2017 and September 30 th , 2018. Tools used in the research implementation were: a medical records review form, a questionnaire about opinions towards using the nursing care model and practices and nurse ‘s satisfaction, a scorecard indicator for monitoring each patient’s quality of care. Data were analyzed using mean, percentage, standard deviation Independent t test and content analysis. The results of this study revealed as follows. 1. The situational analysis were no nursing care model for patient with severe multiple injury, the practice is based on the knowledge and experience of nurses. 2. The nursing care model for patient with severe multiple injury consisted of three phases: pre-hospital phase, in-hospital phase, definite care and continuing of care after discharge. 3. The nursing outcomes of implementing the nursing care model were: a) In emergency department: trauma patient level 1 (life threatening) less than 2 hours increased from 76.51% to 97.06 %, get blood within 30 minute increase from 69.56% to 88.75%, penetrating abdominal trauma with shock patient have surgery within 30 minute increase from 77.26% to 81.47, emergency craniotomy/craniectomy increase from 90.11% to 100%, reducing mortality of PS score > 0.75 from 9.52% to 4.04 and The registered nurse’s satisfaction towards using the nursing care model increased from 78.36 % to 85.68\nAll findings of this study suggest that the nursing care model for patients with severe multiple injury can be used for the safety of patients and preventing serious complications.",
"th": "การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้บาดเจ็บรุนแรงหลายระบบโรงพยาบาลกระบี่ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 1) กลุ่มทดสอบรูปแบบการพยาบาลผู้บาดเจ็บรุนแรงหลายระบบจานวน 85 คน 2) คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบบันทึกการทบทวนเวชระเบียน บันทึกปัญหา อุปสรรคจากการดูแลรักษาแบบสอบถาม ความเป็นไปได้และความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อการใช้รูปแบบการพยาบาลแบบสอบถามการปฏิบัติตามรูปแบบ การพยาบาลแบบบันทึกตัวชี้วัดคุณภาพการดูแลผู้บาดเจ็บรุนแรงหลายระบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาสรุปจาก ข้อเท็จจริง ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ Independent t test\nผลการวิจัยพบว่ายังไม่มีรูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บรุนแรงหลายระบบ การปฏิบัติยังมีความหลากหลายขึ้นกับ ความรู้และประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติแต่ละคนส่งผลให้ผู้บาดเจ็บเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและเสียชีวิต หลังพัฒนาได้รูปแบบการ พยาบาลผู้บาดเจ็บรุนแรงหลายระบบตั้งแต่จุดเกิดเหตุจนกระทั่งจาหน่ายประกอบด้วยการดูแล 3 ระยะคือ การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ การดูแลที่ห้องอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน การดูแลในระยะต่อเนื่องและติดตามหลังจาหน่าย ผลลัพธ์การดูแลพบว่าผู้บาดเจ็บซึ่งถูกคัดแยกเป็นสีแดงอยู่ในห้องอุบัติเหตุ ฉุกเฉินน้อยกว่า 2 ชั่วโมงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 76.51เป็นร้อยละ 97.06ได้รับเลือดภายใน 30 นาทีเพิ่ม ขึ้นจากร้อยละ 69.56เป็น 88.75 ผู้บาดเจ็บที่มีภาวะpenetrating abdominal trauma with shockได้รับการผ่าตัดใน 30 นาทีเพิ่มขึ้นจาก 77.26เป็นร้อยละ 81.47 ผู้บาดเจ็บที่มีข้อบ่งชี้ในการทา emergency craniotomy/craniectomyเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 90.11เป็นร้อยละ 100 ผู้บาดเจ็บเสียชีวิตที่มีค่า Ps > 0.75 ลดลงจากร้อยละ 9.52เหลือร้อยละ 4.04 ส่งผลให้พยาบาล วิชาชีพมีความพึงพอใจต่อการใช้แนวปฏิบัติเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 78.36เป็น 85.68\nดังนั้น การพัฒนารูปแบบการพยาบาลจึงเป็นการสร้างแนวปฏิบัติสาหรับพยาบาลใช้ในการดูแลผู้บาดเจ็บตั้งแต่จุดเกิดเหตุจนกระทั่งจาหน่ายให้เกิดความปลอดภัยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง"
} |
{
"en": "This cross-sectional survey study aimed to assess the relationship between the perceived benefits of pre practice preparation and self-assessment in normal labour care practices of nursing students. Fourth year nursing students-2016 academic year-of two nursing colleges, located in Bangkok and vicinity areas, under jurisdiction of Praboromarajanok Institute were recruited into the study. The total number of the samples was 192. Self-administered questionnaire consisting of personal information, perceived benefits of pre-practice preparation, and normal labour care practice self-assessment was used for data collection. The instrument was validated by three relavant experts and field-tested for reliability which yielded Chronbach’s alpha of 0.92, 0.97. Descriptive statistics and Pearson’s correlation were used for data analysis.\nResults showed that the samples perceived the benefits of the pre-practice preparation at good level and rated most of their labour care practices as good. It was found that the perceived benefits of pre-practice preparation were moderately and positively related to self-assessment labour care practices. Results of this study can be used to guide the improvement of the pre-practice preparation program to enhance analytical thinking and skills among the students to reinforce their confidence in providing effective labour care in the clinic.",
"th": "การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจแบบตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการรับรู้ประโยชน์ต่อ การเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฏิบัติการพยาบาลในระยะคลอดกับผลการประเมินตนเองในการปฏิบัติการพยาบาลระยะคลอด กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จานวน 192 คนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลลักษณะส่วนบุคคลแบบประเมิน การเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฏิบัติการพยาบาลและแบบประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลในระยะคลอด ซึ่งผ่านการตรวจสอบ ความตรงของเนื้อหาและทดสอบความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามเท่ากับ .92และ .97 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน\nผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นการรับรู้ประโยชน์ต่อการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฏิบัติการพยาบาล มีประโยชน์ในระดับมากและความคิดเห็นการประเมินตนเองในการปฏิบัติการพยาบาลในระยะคลอด ส่วนใหญ่สามารถปฏิบัติการพยาบาลได้ในระดับดีและยังมีบางทักษะที่ยังปฏิบัติได้ในระดับพอใช้ ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ประโยชน์ต่อการเตรียมความพร้อม ก่อนฝึกปฏิบัติการพยาบาลและการประเมินตนเองในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลในระยะคลอดพบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวก ระดับปานกลาง ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนาไปวางแผนเพื่อพัฒนารูปแบบในการเตรียมความพร้อม ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ ร่วมกับการฝึกทักษะเพื่อช่วยเพิ่มความมั่นใจและทาให้นักศึกษาพยาบาลมีความพร้อมในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น"
} |
{
"en": "This research was a quasi - experimental design. The purpose was to test the result of square - stepping exercise on confidence without fear while performing activities, balance and walking performance. The sample included 68 elderly adults divided into control and experimental groups. Each group consisted of 34 samples. The experimental group performed square-stepping exercise 50 minutes at a time, 3 times a week for 8weeks. The control group did not perform square - stepping exercise. The instruments used to collect data were the recording form of personal data, the questionnaire to evaluate elderly’ confidence while performing activities without fear of fall, the recording form of the Time Up and Go Test, and the walking performance assessment form. The analysis was descriptive statistics and independent sample t-test.\nThe findings revealed that the elderly who performed square-stepping exercise had confidence performing activities, without fear better balance and walking performance significance higher than before the experiment at the significance level of .05. In addition, the elderly who performed square-stepping exercise had higher confidence while performing activities without fear, and walking performance than those of the control group at the significance level of .05. However, the balance was not significantly different.",
"th": "การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลของโปรแกรมการออกกาลังกายแบบก้าวตามตารางต่อ ความมั่นใจในการปฏิบัติกิจกรรมโดยปราศจากความกลัวจากการหกล้ม การทรงตัวและสมรรถนะการเดินของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุจานวน 68 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 34 คนและกลุ่มควบคุม 34 คน ซึ่งกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการออกกาลังกายแบบก้าวตามตาราง สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 50 นาทีเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับการออกกาลังกายแบบก้าวตาม ตารางเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบประเมินความมั่นใจในการปฏิบัติกิจกรรมโดยปราศจาก ความกลัวจากการหกล้มแบบประเมินการทรงตัวและแบบประเมินสมรรถนะในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและ สถิติทดสอบค่าที\nผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองผู้สูงอายุที่ได้รับโปรแกรมการออกกาลังกายแบบก้าวตามตาราง มีความมั่นใจในการ ปฏิบัติกิจกรรมโดยปราศจากความกลัวจากการหกล้ม การทรงตัวและสมรรถนะการเดิน มากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05และผู้สูงอายุที่ได้รับโปรแกรมการออกกาลังกายแบบก้าวตามตาราง มีความมั่นใจในการปฏิบัติกิจกรรมโดย ปราศจากความกลัวจากการหกล้มและสมรรถนะการเดิน มากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นการ ทรงตัวซึ่งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ"
} |
{
"en": "At present, Thailand has an elderly population (aged 60 and above) of up to 11 million people, accounting for 17 percent of the total population. The key is that the late-aged population (aged 80 and over) will increase dramatically from 1.5 million people in 2017 to 3.5 Millions of people in the next 20 years. Although the problem of self-care and self help is not an issue now, up to 5%, of this late elderly population requires assistance in daily activities as they are Unable to engage in basic routines (e.g. eating themselves, in the bathroom, dressing themselves). especially the late seniors who cannot help themselves, There are as many as 19 percent of the elderly in the same age. Many research results indicate that the important factors that influence the expression of health behaviors of the elderly include self-efficacy; I.e. if the elderly have a high level of self-efficacy, they will have good and proper health behaviors. Therefore, the theory of self-efficacy is important in applying to ensure the elderly in performing healthy behaviors. Review of theoretical concepts on building one's own abilities and study empirical evidence will allow health personnel to design appropriate activities to help older people be confident in expressing appropriate health behaviors.",
"th": "ผู้สูงอายุ คือ ผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ในปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรสูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 11 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17 ของประชากรทั้งหมด ที่สำคัญคือ กลุ่มประชากรสูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) จะเพิ่มขึ้นอย่างมากจาก 1.5 ล้านคนในปี 2560 เป็น 3.5 ล้านคนในอีก 20 ปีข้างหน้าและพบว่ามีปัญหาเรื่องสุขภาพที่อยู่ในภาวะช่วยตัวเองไม่ได้ (ไม่สามารถประกอบกิจวัตรพื้นฐาน คือ กินอาหารเอง เข้าห้องน้ำเอง แต่งตัวได้เอง) มากถึงร้อยละ 5 โดยเฉพาะผู้สูงอายุวัยปลายที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ มีมากถึงร้อยละ 19 ของผู้สูงอายุในวัยเดียวกัน ผลการวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นว่าปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการแสดงออกพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุนั้น หากผู้สูงอายุมีการรับรู้ความสามารถของตนเองในระดับสูงก็จะมีการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสม ดังนั้นทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองจึงมีความสำคัญในการนำมาใช้เพื่อความมั่นใจให้ผู้สูงอายุในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ การทบทวนแนวคิดทฤษฎี วิธีการสร้างความสามารถของตนเองและศึกษาหลักฐานเชิงประจักษ์ จะช่วยให้บุคลากรทางด้านสุขภาพสามารถออกแบบการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุมีความมั่นใจในการแสดงออกพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม "
} |
{
"en": "Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm commonly known as Thep-Ta-Ro and Safrole laurel is found in Asian countries and used in traditional Thai medicine. The aim of this research is to investigate the effects of C. porrectum essential oil inhalation on autonomic nervous system (ANS) and emotional states. This research is an experimental study using A-B design. Twenty-five healthy participants aged between 20 and 35 years old were recruited. The participants filled out a questionnaire on emotional states before and after they inhaled 8% of C. porrectum essential oil via face mask (2 ml/min). ANS parameters were recorded using BIOM7000 Patient Monitor. Data were analyzed using paired simple t-test. Mean changes of the ANS parameters and emotional states of participants were compared before and after the inhalation of C. porrectum oil. The mean systolic and diastolic blood pressure increased significantly from 104.55 (±7.54) to 106.01 (±7.46) mmHg (p-value <0.001) and from 63.55 (±5.10) to 65.24 (±5.11) mmHg (p-value <0.001) respectively. Similarly, the mean heart rate increased significantly from 78.25 (±9.1) to 79.83 (±9.1) mmHg (p-value <0.001) and the mean respiratory rate increased significantly from 17.02 (±1.98) to 18.06 (±2.16) bpm (p-value <0.008). Regarding the emotional states, the mean scores of active feelings increased significantly from 3.48 (±2.48) to 5.97 (±1.87) (p-value <0.001) and the mean scores of fresh feelings increased significantly from 4.15 (±2.53) to 6.63 (±2.06) (p-value <0.001). It can be concluded that C. porrectum essential oil seems to have stimulating effects on ANS parameters and emotional states.",
"th": "Cinnamomum porrectum หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อเทพทาโร หรือ Safrole laurel พบได้ในประเทศแถบเอเชียและถูกใช้ในการแพทย์แผนไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการดมน้ำมันระเหยเทพทาโร ที่มีต่อระบบประสาทอัตโนมัติ และสภาวะทางอารมณ์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงทดลองแบบ A-B โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่มีสุขภาพดี 25 คน อายุระหว่าง 20 ถึง 35 ปีได้รับการคัดเลือกเข้ากลุ่ม กลุ่มตัวอย่างกรอกแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาวะทางอารมณ์ก่อนและหลังการดมน้ำมันระเหยเทพทาโรที่เข้มข้นร้อยละ 8 ผ่านหน้ากากพลาสติก (2 มล. / นาที) ประเมินผ่านระบบประสาทอัตโนมัติ บันทึกด้วยเครื่องวัดสัญญาณชีพรุ่น BIOM7000 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา paired t-test ผลจากระบบประสาทอัตโนมัติ บอกได้ว่า ค่าความดันโลหิต systolic และ diastolic หลังจากการดมน้ำมันระเหยเทพทาโรเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001) จาก 104.55 (±7.54) เป็น 106.01 (± 7.46) มิลลิเมตรปรอท และจาก 63.55 (±5.10) เป็น 65.24 (± 5.11) มิลลิเมตรปรอท หลังจากการดมน้ำมันระเหยเทพทาโรอัตราการเต้นของหัวใจเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001) จาก 78.25 (±9.1) เป็น 79.83 (± 9.1) ครั้งต่อนาทีและอัตราการหายใจเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.008) จาก 17.02 (±1.98) เป็น 18.06 (± 2.16) ครั้งต่อนาที สภาวะทางอารมณ์คะแนนเฉลี่ยของความรู้สึกกระปรี้กระเปร่าและความรู้สึกสดชื่นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (p-value <0.001) จาก 3.48 (±2.48) เป็น 5.97 (± 1.87) และ จาก 4.15 (±2.53) เป็น 6.63 (± 2.06) ตามลำดับ หลังจากการสูดดมน้ำมันระเหยเทพทาโร สรุปได้ว่า น้ำมันระเหยเทพทาโรสามารถกระตุ้นให้เกิดผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติและสภาวะทางอารมณ์ได้"
} |
{
"en": "Nursing faculty is recognized as a key person in producing nurses to address population health needs. The current population needs demand competent nurses to response effectively. Nursing faculty plays an important role in teaching pre-licensing nursing students to be qualified nurses. However, a little is known about competencies of nursing faculty members in Thailand. This study aimed to identify and propose a \"model faculty member\" in nursing in response to health needs of the population. Descriptive qualitative methods were applied. Review literature on faculty competencies in education and nursing profession lead researchers to develop semi-structure interview guide for focus group of stakeholders. Qualitative data from 3 groups of stakeholders, including 8 nursing students, 6 health sector employers, and 9 faculty members and administrators, were analyzed using content analysis combined with data from literature to formulate the model of faculty competencies. The propose model was validated by a group of 9 experts in nursing education. The result revealed that the model faculty composed of five key competencies, namely 1) nursing competencies, 2) pedagogy competencies, 3) personal development competencies, 4) ethical and moral competencies, and 5) research and academic services competencies. The finding is benefit to prepare the faculty necessary to educate future generations of nurses.",
"th": "อาจารย์พยาบาลได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลสำคัญในการผลิตพยาบาลเพื่อตอบสนองความจำเป็นทางสุขภาพของประชาชน ซึ่งความจำเป็นทางสุขภาพของประชาชนในปัจจุบันต้องการพยาบาลที่มีสมรรถนะเพื่อให้ตอบสนองความต้องการนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจารย์พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการสอนนักศึกษาพยาบาลให้เป็นพยาบาลที่มีคุณภาพ อย่างไรก็ตามการศึกษาเกี่ยวกับสมรรถนะอาจารย์พยาบาลในประเทศไทยยังมีน้อย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะอาจารย์พยาบาลในการผลิตบัณฑิตพยาบาลเพื่อตอบสนองต่อความจำเป็นทางสุขภาพของประเทศไทย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ คณะผู้วิจัยทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับสมรรถนะทางการศึกษาและวิชาชีพการพยาบาลนำมาสร้างเป็นแบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง สำหรับการสนทนากลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งประกอบด้วย นักศึกษาพยาบาลจำนวน 8 คน ผู้ใช้บัณฑิต จำนวน 6 คน ผู้บริหารและอาจารย์พยาบาล จำนวน 9 คน คณะผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนทนากลุ่มโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาร่วมกับข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม สังเคราะห์เป็นกรอบสมรรถนะอาจารย์พยาบาล หลังจากนั้นนำกรอบสมรรถนะอาจารย์พยาบาลไปตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพยาบาล จำนวน 9 คน ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะของอาจารย์พยาบาลในการผลิตบัณฑิตพยาบาลเพื่อตอบสนองต่อความจำเป็นทางสุขภาพของประเทศไทย ประกอบด้วย 5 กลุ่มสมรรถนะ คือ 1) สมรรถนะทางการพยาบาล (nursing competencies) 2) สมรรถนะทางการศึกษา (pedagogy competencies) 3) สมรรถนะในการพัฒนาคุณลักษณะส่วนตน (personal development competencies) 4) สมรรถนะด้านคุณธรรม จริยธรรม (ethical and moral competencies) และ 5) สมรรถนะด้านการวิจัยและบริการวิชาการ (research and academic services competencies) ข้อค้นพบนี้เป็นประโยชน์ในการเตรียมอาจารย์พยาบาลเพื่อสร้างพยาบาลรุ่นต่อไปในอนาคต"
} |
{
"en": "This predictive research aimed at studying the predictive factors of gestational weight gain, postpartum dietary intake, breastfeeding, postpartum depression, and postpartum confinement (yuu fai) on postpartum weight retention at 4-6 weeks. The subjects were 87 mothers who came for a postpartum checkup unit at Warinchamrab Hospital and Sunpasitthi- prasong Hospital. Data were collected by the demographic questionnaire, 24-hr dietary recall, and the Edinburgh Postnatal Depression Scale. Data were analyzed using multiple linear regression analysis. According to the findings, the postpartum mother weight retention at 4-6 weeks had a mean of 5.77 kilograms (S.D. = 3.55). Gestational weight gain and postpartum confinement (yuu fai) were able to co-predict postpartum weight retention at 62.8 percent with statistical significance (F = 30.063, p < .001, adjusted R2 = .628). Gestational weight gain was able to predict postpartum weight retention the most (β = .465, t = 5.840, p < .001), followed by postpartum confinement (β = .444, t = 5.571, p < .001).",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายของน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ การบริโภคอาหารหลังคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด และการอยู่ไฟต่อน้ำหนักคงค้างหลังคลอด 4-6 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างคือมารดาที่มา รับบริการตรวจสุขภาพหลังคลอด ที่โรงพยาบาลวารินชำราบและโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จำนวน 87 ราย เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกการบริโภคอาหารย้อนหลังใน 24 ชั่วโมง และแบบสอบถามภาวะซึมเศร้า หลังคลอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า มารดามีน้ำหนักคงค้างหลังคลอด 4-6 สัปดาห์ เฉลี่ย 5.77 กิโลกรัม (S.D. = 3.55) น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น ระหว่างตั้งครรภ์และการอยู่ไฟสามารถร่วมกันทำนายน้ำหนักคงค้างหลังคลอดได้ร้อยละ 62.8 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F = 30.063, p < .001, adjusted R2 = .628) โดยน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์สามารถทำนายน้ำหนักคงค้างหลังคลอดได้สูงสุด (β = .465, t = 5.840, p < .001) รองลงมาคือการอยู่ไฟ (β = .444, t = 5.571, p < .001)"
} |
{
"en": "The purpose of this study was to determine the influences of age, antepartum depression, postpartum depression, desire for a child, and family functioning on parental competence in first-time postpartum mothers. Subjects were 100 mothers who have had a first-time postpartum mothers in family planning clinic at King Chulalongkorn Memorial Hospital. The research instruments used to collect data included personal data interview, Edinburgh Postnatal Depression Scale, Thai Family Functioning Scale, and The Parenting Sense of Competence Scale. Descriptive statistics, Pearson product-moment correlation, and Multiple linear regression were used to analyze the data. The results revealed that age, antepartum depression, postpartum depression, desire for a child, and family functioning could predict parental competence in first-time postpartum mothers by 35% (R2 = .350, p < .001). However, only family functioning could statistical significantly predict parental competence in first-time postpartum mothers (β = .469, p < .001). However, age, antepartum depression, postpartum depression, and desire for a child was predicted to parental competence with no statistical significance (p = .887, .198, .654 and .133 respectively).",
"th": "การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของอายุ ภาวะซึมเศร้าระยะตั้งครรภ์ ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด ความ ต้องการบุตร และการทำหน้าที่ของครอบครัว ต่อสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตรในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรก กลุ่มตัวอย่างเป็น มารดาหลังคลอดบุตรคนแรกที่มารับบริการ ณ คลินิกวางแผนครอบครัว โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เลือกแบบเจาะจง จำนวน 100 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินภาวะซึมเศร้าหลังคลอด แบบสอบถามการทำหน้าที่ของครอบครัว และแบบสอบถามสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตร วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนา สถิติสห สัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ 1. ผลการศึกษาพบว่า อายุ ภาวะซึมเศร้าระยะตั้งครรภ์ ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด ความต้องการบุตร และการทำหน้าที่ของ ครอบครัว สามารถร่วมกันทำนายสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตรในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรกได้ร้อยละ 35 (R2 = .350, p < .001) เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยของตัวพยากรณ์ พบว่า การทำหน้าที่ของครอบครัวสามารถทำนายสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตร ในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรกได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .469, p < .001) ส่วนอายุ ภาวะซึมเศร้าระยะตั้งครรภ์ ภาวะซึม เศร้าหลังคลอด และความต้องการบุตร ไม่สามารถทำนายสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตรในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรกได้ (p = .887, .198, .654 และ .133 ตามลำดับ)"
} |
{
"en": "This study is mixed method by using quantitative method in older person demographic information, social activities participation level, and factors related to social activities participation. While, qualitative method was used to explain quantitative data for success factors which were promote older person participating in social activities participation continuously. Quantitative data were analyzed by stepwise multiple regression analysis with significant difference at level .05 and qualitative data were using interpretation method.\nThe result showed that social activities participation were in low level. The most social activities older person were involve was religious activity. Education level effected to social activities participation 4.1 % (R2 = 0.041, p < 0.001). Education and gender were predictor for social activities participation in older person 5.8 % (R2 = 0.058, p = 0.001). The result of qualitative analysis found that factors were promoted social activities participation in older person were religious activity patterns, convenient transportation, having a pick up during activities, having incentive rewards, having invitation letter. The obstructive factors in social activities participation including personal factors which were older ages, having job, having child to take care.",
"th": "การวิจัยแบบผสมวิธีนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณเพื่อศึกษาคุณลักษณะของผู้สูงอายุ ระดับการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมและปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าร่วมกิจกรรม และวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่ออธิบายประกอบข้อมูลเชิงปริมาณด้านปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมอย่างต่อเนื่อง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติความถดถอยพหุแบบขั้นตอน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการตีความหมาย ผลการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมอยู่ในระดับน้อย กิจกรรมที่ผู้สูงอายุเข้าร่วมมากที่สุดคือกิจกรรมทางศาสนา ระดับการศึกษาสามารถทำนายการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมได้ร้อยละ 4.1 (R2 = 0.041, p < 0.001) ระดับการศึกษาและเพศร่วมทำนายการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 5.8 (R2 = 0.058, p = 0.001) ผลการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพพบว่า ปัจจัยส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ ได้แก่ รูปแบบที่จัดเป็นกิจกรรมทางศาสนา การเดินทางสะดวก มีการรับ- ส่ง มีของรางวัลจูงใจ มีหนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม ปัจจัยขัดขวางการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล คือ ความสูงอายุ การมีภาระงานที่ต้องทำ ต้องเลี้ยงหลาน"
} |
{
"en": "This descriptive study aimed to investigate the influences of age, postpartum fatigue, self-esteem, functional status after childbirth, and social support on mental health of postpartum mothers. The sample consisted of 129 postpartum mothers, attending postpartum follow-up for 4-6 weeks at Phramongkutklao Hospital. The research instruments included a personal data interview, Thai Mental Health Indicator, the Rosenberg’s Self-Esteem Scale, the Inventory of Functional Status After Childbirth, the Modified Fatigue Symptom Checklist, and the Multidimensional Scale of Perceived Social Support. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson correlation, and Multiple Linear Regression. The results revealed that 27.9% postpartum mothers had better mental health than general people, while mental health of 59.7% of them was equal to general people. Furthermore, age, postpartum fatigue, self-esteem, functional status after childbirth, and social support together could statistically significantly predict mental health of postpartum mothers by 49.5% (R2 = .495, F = 24.093, p < .001). However, only postpartum fatigue (β = -.205, p < .01), self-esteem (β = .466, p < .001), and social support (β = .257, p < .001) are the key factors that could statistically significantly predict mental health of postpartum mothers. The results suggest that nurse midwives should organize program to promote adaptive responses, self-esteem, and reduce postpartum fatigue by encouraging husbands and relatives for good mental health of postpartum mothers. ",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของ อายุ ความเหนื่อยล้าในระยะหลังคลอด ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การทำหน้าที่ตามบทบาทต่างๆของมารดาหลังคลอด และการสนับสนุนทางสังคมต่อสุขภาพจิตของมารดาหลังคลอด กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอด 4-6 สัปดาห์ จำนวน 129 ราย ที่มารับบริการตรวจหลังคลอด โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เครื่องมือประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินสุขภาพจิต แบบวัดความภาคภูมิใจในตนเอง แบบสอบถามการทำหน้าที่ตามบทบาทต่างๆของมารดาหลังคลอด แบบสอบถามความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด และแบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมแบบพหุมิติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 27.9 สุขภาพจิตดีกว่าบุคคลทั่วไป ร้อยละ 59.7 สุขภาพจิตเท่ากับบุคคลทั่วไป โดยอายุ ความเหนื่อยล้าในระยะหลังคลอด ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การทำหน้าที่ตามบทบาทต่างๆของมารดาหลังคลอด และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายสุขภาพจิตของมารดาหลังคลอดได้ร้อยละ 49.5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R 2 = .495, F = 24.093, p < .001) แต่มีเพียงความเหนื่อยล้าในระยะหลังคลอด (β = -.205, p < .01) ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง (β = .466, p < .001) และการสนับสนุนทางสังคม (β = .257, p < .001) ที่สามารถทำนายสุขภาพจิตของมารดาหลังคลอดได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าพยาบาลผดุงครรภ์ควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีการปรับตัวที่ดี ให้มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ลดความเหนื่อยล้าในระยะหลังคลอด โดยได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสามี บุคคลในครอบครัว เพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพจิตที่ดีของมารดาหลังคลอด"
} |
{
"en": "School age children are important to Thailand because they will be the adults who will make decisions about Thailand’s development in the future. To ensure children are physically and mentally healthy, intelligent, and responsible for their health and society, it is necessary to prevent non-communicable diseases in school age children, which are increasing and becoming a serious health problem. In order to be intelligent and healthy, children must have sufficient understanding of what it means to be healthy in order to make good decisions about how to take care of themselves, including their eating habits and lifestyle. This health literacy is important to prevent type 2 diabetes, allowing all children to grow to adulthood.",
"th": "เด็กวัยเรียนเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญยิ่งต่อประเทศชาติ เพราะเด็กในวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า จะเป็นผู้ที่พัฒนา ประเทศให้เจริญรุ่งเรืองต่อไปในอนาคต การจะพัฒนาเด็กให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพ คือ การพัฒนาด้านร่างกายให้มีสุขภาพ แข็งแรง มีจิตใจที่ดีงาม มีความคิดสติปัญญาที่เฉียบแหลม และมีความรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพตนเองและสังคม เพราะการดูแล สุขภาพได้ด้วยตนเองเป็นการช่วยเสริมภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายที่ดีที่สุดอย่างหนึ่ง อีกทั้งเพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในเด็ก วัยเรียนที่เป็นปัญหาสาธารณสุขอย่างมากและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ดังนั้น ถ้ามุ่งหวังจะให้การศึกษากับเด็กวัยเรียนเพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี จึงจำเป็นต้องดูแลให้เด็กมีสุขภาพดีก่อน และในการจะมีสุขภาพดีได้นั้นเด็กจะต้องมีความรอบรู้ทาง สุขภาพดีด้วย อันเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยลดพฤติกรรมเสี่ยงและป้องกันการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 นอกจากนี้ยังจะช่วยให้มีแบบแผน พฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีภาวะสุขภาพที่ดีสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งจะเติบโตเป็นวัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยสูงอายุที่มีสุขภาพ ดีต่อไป"
} |
{
"en": "Learning in the 21st century is the learning of constant change in the world. Now, nurses work in the complex health problems and more serious everyday, therefore the lesson learning wants to change the teaching methods that encourage learners to have more analytical thinking. Using case studies in combination with transformative learning has three main stages include stage 1 to present case study, stage 2 to determine their own transition planning and implementation, and stage 3 to implement and reform into new life. It helps to achieve internal critical self-reflection and to gain new experience and a profound understanding of own. The development of new nursing care plan differs from individual to consider a holistic approach to a real lifest7yle and contribute to the professional development of nursing.",
"th": "การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการเรียนรู้ที่ต้องก้าวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างรวดเร็ว ในสังคมแห่งการ เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานของพยาบาลต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพที่มีความซับซ้อนมากขึ้น การจัดการการเรียนการสอนจึงต้องการ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนมีการคิดวิเคราะห์ได้มากขึ้น การใช้กรณีศึกษาร่วมกับการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงเป็น วิธีการสอนซึ่งมี 3 ขั้นตอนหลัก ขั้นที่ 1 การนำเสนอกรณีศึกษา ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ตรวจสอบตนเองสู่การวางแผนการเปลี่ยนแปลง ใหม่ และขั้นที่ 3 ปฏิบัติและปฏิรูปสู่วิถีชีวิตใหม่ เพื่อให้เกิดการสะท้อนคิดภายในตนเองของผู้เรียนอย่างมีวิจารณญาณจาก ประสบการณ์เดิมสู่ประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับ ได้เข้าใจตนเองได้อย่างลึกซึ้ง เกิดการพัฒนาการแนวทางการปฏิบัติการพยาบาลใหม่ ที่แตกต่างจากเดิมที่คำนึงถึงปัจเจกบุคคลอย่างองค์รวมสู่การดำเนินชีวิตที่แท้จริง และนำไปสู่พัฒนาวิชาชีพทางการพยาบาลต่อไป"
} |
{
"en": "When the age increase will changes in physical, mental, and health. Therefore, it is important that nurse have to prepare to care for the older adults in all dimension. In particular, the mental illness has increased when entering the older. Psychosocial therapy is an alternative care to help improve the mental health of the older adults and help to reduce the negative feelings. Psychosocial therapy is activity to care, related to older person in psychology and society. There are many types depending on the objectives and expected results. In this article talk about the reminiscence, that the one type of psychosocial therapy in the older adults. The nature of older adults will forget the new events that just happened, while able to remember the past story. Thinking about the past is one of the behaviors of the older adults. It’s consistent with the experience and appropriate for use in the older adults. This article aims to present about reminiscence, classification of reminiscence, mechanism of reminiscence, selection of form of reminiscence, Bringing the reminiscence to achieve the expected results, the role of nurses to step of reminiscence, nurses and promotions to reminiscence in older adults and case study.",
"th": "เมื่ออายุมากขึ้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสุขภาพวะ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่พยาบาลต้องเตรียมความพร้อมในการดูแลผู้สูงอายุทุกด้าน โดยเฉพาะทางด้านจิตใจที่พบแนวโน้มปัญหาสุขภาพจิตเพิ่มขึ้นเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ การบำบัดทางจิตสังคมเป็นทางเลือกหนึ่งในการช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเกิดสุขภาพจิตที่ดีขึ้น และช่วยลดความรู้สึกทางลบให้กับผู้สูงอายุได้ การบำบัดทางจิตสังคมเป็นกิจกรรมการดูแลที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของผู้สูงอายุในด้านจิตวิทยาและสังคม มีรูปแบบที่หลากหลายขึ้นกับ วัตถุประสงค์และผลลัพธ์ที่คาดหวัง โดยในที่นี้จะกล่าวถึงการระลึกความหลัง ที่ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการบำบัดทางจิตสังคม ในผู้สูงอายุ เนื่องจากธรรมชาติของผู้สูงอายุจะหลงลืมเหตุการณ์ใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้น ในขณะที่สามารถจดจำเรื่องราวในอดีตได้ดี การคิดถึงความหลังจึงเป็นพฤติกรรมหนึ่งของผู้สูงอายุ ทำให้สอดคล้องกับประสบการณ์และมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ในวัยสูงอายุ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการระลึกความหลังในประเด็น ประเภทของการระลึกความหลัง การทำงานของกลไกการระลึก ความหลัง การเลือกใช้รูปแบบของการระลึกความหลัง การนำการระลึกความหลังมาใช้ให้เกิดผลลัพธ์ตามที่คาดหวัง บทบาทของพยาบาลในแต่ละขั้นตอนของการระลึกความหลัง พยาบาลกับการส่งเสริมการระลึกความหลังในผู้สูงอายุ และกรณีศึกษาจากประสบการณ์ เพื่อให้พยาบาลมีความรู้เกี่ยวกับการระลึกความหลัง และสามารถนำไปได้อย่างเหมาะสม"
} |
{
"en": "The disease progression of dementia, which have been linked to declining memories and activities of daily living with mood and behavior changes that declining relationship for older persons with dementia and spouse caregivers who are not understand each other. Spouse caregivers may respond to these declining relationship with stress and burden. Nurses can play a pivotal role in providing care to older persons with dementia and caregivers by giving education, counseling, support and collaboration. These caring help the caregivers to understand and be able to provide proper care for the patients. Furthermore, the patients and caregivers understand each other that is good for the caregivers to care the older persons with dementia effectively.",
"th": "การดำเนินของโรคในภาวะสมองเสื่อม ส่งผลให้ความทรงจำของผู้สูงอายุเสื่อมถอยลง ความสามารถในการช่วยเหลือ ตนเองลดลง มีอารมณ์และพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมและผู้ดูแล ที่เป็นคู่สมรสเกิดความไม่เข้าใจ กัน สัมพันธภาพในการใช้ชีวิตคู่ร่วมกันลดลง ผู้ดูแลเกิดความเครียดในการดูแลและเกิดความรู้สึกเป็นภาระ พยาบาลจึงมีบทบาทใน การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมให้ได้รับการดูแล ที่เหมาะสมและช่วยลดภาระที่เกิดขึ้นกับผู้ดูแล โดยใช้บทบาทพยาบาล ในการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะ สมองเสื่อม การให้คำปรึกษา ให้การสนับสนุนทางด้านจิตใจ และช่วยในการประสานงาน ต่างๆ เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุและดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ส่งผลต่อสุขภาพกาย ใจที่ดีของผู้ดูแล ซึ่งส่งผลดีต่อทั้งผู้ดูแลและการให้การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ"
} |
{
"en": "Sustainable Development Goals-SDGs is a development process from Millennium Development Goals-MDGs to promote healthy and well-being of the people. From MDGs consisted of 8 goals developing to 17 goals of SDGs, which the 3rd goal related to good health and well-being for all people. Nurses have their roles in four dimensions of health related to targets of 3rd goal. In addition, nurses can support to do activities to achieve other goals of SDGs. In health care system, nurses who work at primary care level can participate in promoting, supporting many activities to meet goals because they are close to the people in community, realize and understand need of the people and reinforce for strengthening community. However, nurses leader and administrators should analyze how nurses can perform and participate in health care team to achieve Sustainable Development Goals in 2030.",
"th": "การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นกระบวนการพัฒนาต่อจากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษที่องค์การสหประชาชาติกำหนดขึ้น เพื่อใช้ในการเสริมสร้างชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน จากเดิมที่มี 8 เป้าหมายหลักเพิ่มเป็น 17 เป้าหมายหลัก โดยเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์และสาธารณสุข คือ เป้าหมายที่ 3 การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีในทุกช่วงอายุ พยาบาลมีบทบาทสำคัญ ในการปฏิบัติงานด้านวิชาชีพครอบคลุมทั้ง 4 มิติในตัวชี้วัดที่เป็นเป้าประสงค์ทางด้านสุขภาพ นอกจากนั้นยังมีบทบาทในการสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายอื่นด้วย ในระบบบริการสาธารณสุขพยาบาลที่ปฏิบัติงานในสถานบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิมีหน้าที่ให้บริการ ส่งเสริม สนับสนุนช่วยเหลือเป้าหมายต่างๆ ได้มากที่สุดเนื่องจากอยู่ใกล้ชิดกับประชาชนในชุมชน รู้ปัญหาและความต้องการของ ประชาชนและช่วยผลักดันให้ชุมชนเข้มแข็งได้ ทั้งนี้พยาบาลที่เป็นผู้นำทางด้านวิชาชีพและผู้บริหารทางการพยาบาลควรร่วมกันวิเคราะห์ในแต่ละเป้าหมายว่าพยาบาลมีส่วนสำคัญในการมีบทบาทอย่างไรในทีมสุขภาพเพื่อส่งเสริมการบรรลุเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนในปี พ.ศ.2573"
} |
{
"en": "The recovery concepts in mental health services have been continuous by Changed and development over the past 20 years. Today’s concept of recovery is “recovery orientation” which attempts to move away from traditional concept which based on the bio-medical model. However, the concept of recovery oriented services for people with mental illness is still infancy in Thailand. In this article, is focused on the development of recovery concepts and the impacts of varying concepts on the contemporary recovery oriented care for people with mental illness. Also, the recommendations to improve recovery-oriented practices were identified in this article. The professionals can enhance those strategies to promote the clients’ hope, self-management and sense of belonging in community that can assist people with mental illness to achieve meaningful goals on their own recovery journey.",
"th": "ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมาระบบบริการในสายงานสุขภาพจิตมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จากรูปแบบเดิม ที่เน้นการให้บริการในรูปแบบทางการแพทย์มาเป็นการบริการเพื่อ “ฟื้นคืนสู่สุขภาวะ” อย่างไรก็ตามแนวคิดเรื่องการฟื้นคืนสู่สุข ภาวะยังเป็นเรื่องใหม่สำหรับพยาบาลจิตเวชในประเทศไทย บทความนี้จะวิเคราะห์ให้เห็นถึงพัฒนาการการเปลี่ยนแปลงของระบบ การให้บริการเพื่อการฟื้นคืนสู่สุขภาวะของบุคคลที่อยู่กับโรคจิตเวช และแนะนำแนวทางการปฏิบัติการพยาบาลที่สอดคล้องกับหลักการการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ โดยพยาบาลควรส่งเสริมให้บุคคลที่อยู่กับโรคจิตมีความหวัง, มีความรับผิดชอบในตนเอง และเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เพื่อให้บุคคลนั้นได้พบกับความสำเร็จในการฟื้นคืนสู่สุขภาวะที่แท้จริง"
} |
{
"en": "Risk factors of stroke in hypertensive patients divided into 2 parts were 1) personal factors were male, increasing ages, diabetes mellitus, obesity, hyperdyslipidemia, atrial fibrillation, family history with stroke, duration of hypertension illness, and high blood pressure. 2) health behavior factors were no adherence to anti-hypertensive medication, no exercise, inappropriate consuming, alcohol consumption and smoking. If no behavior change or inappropriate treatment will leading to main organ complications especially brain causes ischemic or hemorrhagic stroke. Patient with stroke will confront with remain disability which is effect to patient minds and burden caregiving to the family and also high cost patient care. So, the stroke prevention in hypertensive patients by advice the adherence to anti-hypertensive medication, appropriate consuming, regular exercise, no alcohol consumption and tobacco cessation are important to prevent stroke in the future.",
"th": "ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศชาย อายุที่มากขึ้น การเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคอ้วน ภาวะไขมันในเลือดสูง ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว การมีประวัติบุคคล ในครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ระยะเวลาที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและมีระดับความดันโลหิตสูง และ 2) ปัจจัยด้าน พฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การรับประทานยาโรคความดันโลหิตสูงไม่สม่ำเสมอ การขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม การดื่มสุราและการสูบบุหรี่ หากไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือรักษาจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนไปยังอวัยวะที่สำคัญโดยเฉพาะสมอง ทำให้เกิดภาวะสมองขาดเลือดหรือภาวะเลือดออกในสมองได้ และผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมักมีความพิการหลงเหลืออยู่ ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของผู้ป่วย ครอบครัวต้องรับภาระในการดูแล สูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วย ดังนั้นการป้องกันโรค หลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โดยแนะนำให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง รับประทาน อาหารที่เหมาะสม ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ไม่ดื่มสุราและไม่สูบบุหรี่ จึงมีความสำคัญในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองที่จะเกิดขึ้นในอนาคต"
} |
{
"en": "The purpose of this quasi-experimental research using a two-group pretest-posttest design aimed at examining the effects of an intrinsic motivation program on the stress management skills of first- and second-year nursing students during 2017. The sample consisted of 70 nursing students, recruited using the inclusion criteria. They were randomly assigned to the control and experimental groups, with 35 subjects in each group. The experimental group participated in the intrinsic motivation program developed by the researcher based on the self-determination theory and experiential activities planner (EAP) learning process. Their activities comprised 8 sessions, once a week for 8 weeks. The control group received routine study activities. The research instruments were the following: 1) a personal data questionnaire; 2) the intrinsic motivation program, which was validated for content by 3 experts; 3) and a stress management skills scale for nursing students. The reliability of these questionnaires was determined with a Cronbach’s alpha coefficient of .88. The data were analyzed using descriptive statistics, dependent t-test, and independent t-test. The results of the study were as follows.\n1) After participating in the intrinsic motivation program, the mean scores for the students’ stress management skills (M = 64.11, SD = 10.86) were greater than their mean scores on their pretest (M = 51.34, SD = 12.36) at a statistical significance (t = 7.16, p<.001).\n2) The mean difference between pretest and posttest stress management skills mean scores of the experimental group ( = 12.77, SD = 12.60) were significantly greater than those of the control group ( = .23, SD = 1.22) (t = 7.23, p < .001).\nRecommendation\nThe results of the study can be used as a guideline for the intrinsic motivation of nursing students and students in other fields of first year of education for preparation and development of stress-management skills in the further.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดสองครั้ง ก่อนและหลังทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของ โปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจภายในของนักศึกษาพยาบาล กล่มุ ตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1 และ ชั้นปีที่ 2 ที่มีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 70 คน ได้ทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 35 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจภายใน ที่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัย ตามแนวคิดการเสริมสร้างแรงจูงใจภายใน โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และ แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาล ได้ทดสอบความเที่ยงด้วยค่าสัมประสิทธิ์ สัมพันธ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ .88 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ สถิติทดสอบค่าทีชนิดที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน (dependent t-test) และสถิติทดสอบค่าทีชนิดที่เป็นอิสระต่อกัน (independent t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้\n1) คะแนนเฉลี่ยทักษะการจัดการความเครียดของกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจภายใน ภายหลังการ ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจภายใน (M = 64.11, SD = 10.86) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (M = 51.34, SD = 12.36) อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 7.16, p <.001)\n2) ผลต่างของคะแนนเฉลี่ยทักษะการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาลระหว่างก่อน และหลังได้รับโปรแกรม เสริมสร้างแรงจูงใจภายในของกลุ่มทดลอง ( = 12.77, SD = 12.60) สูงกว่ากลุ่มควบคุม ( = .23, SD = 1.22) อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ( t = 7.23, p <.001)\nข้อเสนอแนะ และผลการวิจัยที่นำไปใช้ ผลการศึกษาสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการเสริมสร้างแรงจูงใจภายในของนักศึกษาพยาบาล และนักศึกษา ในระดับอุดมศึกษาชั้นปีแรกๆ ของการศึกษาในสาขาอื่นๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม และพัฒนาทักษะการจัดการความเครียด ต่อไป"
} |
{
"en": "The purpose of this research was to study the development of a psychosocial rehabilitation program for patients withSchizophrenia and an amphetamine use disorder, and then to study the results using quasi-experimental designs. Five steps were utilized to develop the program: 1)analysis of the problems; 2) planning; 3) prototype; 4) test and improve the program; and 5) a training program. The program had design as a series of eightactivities that were compared using a pretest–posttest experiment. The dependent variables were social functioning, quality of life, re-admit and a return to using drugs; which was tested using twenty person samples. The measuring instruments were social functioning assessment, quality of life assessment, along with follow-up after treatment. The results showed that the two groups’ quality of life and social functioning score increased immediately after treatment, and also after one and three months of treatment. However, the social functioning score of the experimental group was higher than the control group’s score. In addition, after threemonths the experimental group’s numbers for not returning to drug use was higher than those for the control group. Moreover, the control group’s return for inpatient treatment was significantly higher; at a statistical level of .05",
"th": "การศึกษานี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูสภาวะจิตสังคม ในป่วยจิตเภทที่มีความ ผิดปกติของการใช้สารเสพติดแอมเฟตามีนและศึกษาผลของโปรแกรม ด้วยการวิจัยกึ่งทดลองวิธีการพัฒนาโปรแกรมมี 5 ขั้นตอน คือ 1) วิเคราะห์สภาพการณ์ปัญหา 2) วางแผน 3) จัดทำต้นแบบ 4) ทดสอบและปรับโปรแกรม 5) จัดอบรมผู้ใช้โปรแกรม ได้ โปรแกรมที่เป็นชุดกิจกรรม 8 กิจกรรม เปรียบเทียบผลด้วยวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองตัวแปรตามคือ การทำหน้าที่ทางสังคม คุณภาพชีวิตการกลับมารักษาแบบผู้ป่วยในซ้ำและการกลับมาใช้สารเสพติดซ้ำกลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 20 คน เครื่องมือวัดคือแบบประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ทางสังคม แบบประเมินคุณภาพชีวิต และแบบติดตามผลหลังการบำบัด พบว่า ทั้ง 2 กลุ่มมีคะแนนคุณภาพชีวิตและการทำหน้าที่ทางสังคมหลังบำบัดทันที หลังบำบัด 1 และ 3 เดือนมากกว่าก่อนบำบัด แต่การทำหน้าที่ทางสังคมของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองไม่กลับมาเสพสารเสพติดซ้ำภายใน 3 เดือนมากกว่ากลุ่ม ควบคุมและกลุ่มควบคุมมารักษาแบบผู้ป่วยในซ้ำสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05"
} |
{
"en": "Caring for patients in intensive care units (ICU) and preventing complications of peripheral intravenous infusion is crucial. This experimental development research of two groups with pre-test and post-test designs was aimed at developing a working model for nursing patients with peripheral intravenous infusion at the Medical Intensive Care Unit, Faculty of Medicine, Ramathibodi hospital. The research was conducted from June 16 to September 15, 2017. The control area was in the Cardiac Care Unit, Ramathibodi hospital. The sample of work was care implementation for patients with peripheral intravenous infusion during pre- and post-experimental phases in total of 167 times. The sample of participants included 69 service receivers, 47 service providers/nurses, and 2 managers. The nursing care was measured in 5 aspects: quantity, quality, duration, satisfaction of individuals involved, and economics. Data was analyzed using descriptive statistics, T-values, Paired T tests, Wilcoxon Signed-Rank test, Mann-Whitney U test with the alpha level at .05, and content analysis.\n The research findings revealed that the developed model applied 11 involved academics principles harmoniously with the context of the experimental area by using existing resources. The clearly written structures of workers, finance, equipment, and service systems helped the workers to understand and perform work by themselves. They were able to apply this model further in real contexts at Ramathibodi hospital, which emphasized simple but highly efficient work operations. The workflow chart to care for patients with peripheral intravenous infusion was clearly written by focusing on patient centeredness and nursing principles. After the experiment, the workers’ workload did not increase, but the accuracy rate to follow the standard increased (p=.003); work duration did not increase, the workers’ satisfaction did not decrease, and cost per service unit decreased (p<.001). For recommendations, the research should be continuously conducted throughout the entire hospital and developed to be a good working model of the country with higher efficiency. Policies on health service provisions should be more intense by focusing more on integrative work and multidisciplinary participation for patients to receive quality nursing care.",
"th": "ผู้ป่วยวิกฤต จำเป็นต้องได้รับการดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย การวิจัยพัฒนาเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อน-หลัง การทดลองนี้ เพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานดูแลผู้ป่วยได้รับสารน้ำ ทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย นำไปทดลองที่หอผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมโรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่าง 16 มิถุนายน 2560 ถึง 15 กันยายน 2560 ให้หอผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมโรคหัวใจ โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นพื้นที่ควบคุม กลุ่มตัวอย่างด้านงาน คือ การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย ในช่วงก่อนและหลังการทดลอง รวม167 ครั้ง กลุ่มตัวอย่างด้านคน คือ ผู้รับบริการ 69 คน ผู้ให้บริการ 47 คน ผู้บริหาร 2 คน รวม 118 คน (163 ครั้ง) วัดผลการดำเนินงาน 5 ด้าน คือ ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาที่ใช้ ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง และ ด้านเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าสถิติที ค่าสถิติแพร์ที ค่าสถิติวิลค็อกสัน ค่าสถิติแมนวิทย์นียู ที่ระดับแอลฟา .05 และการวิเคราะห์เนื้อหา พบว่า รูปแบบที่พัฒนาขึ้น ได้นำหลักวิชาการที่เกี่ยวข้อง มาประยุกต์อย่างสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ทดลอง โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ประกอบด้วย 11 หลักการ มีโครงสร้างด้านคน เงิน ของ และระบบงาน ที่เป็นลายลักษณ์อักษรชัดเจน ผู้ปฏิบัติ สามารถนำไปใช้ให้เกิดการรับรู้ เข้าใจ ปฏิบัติได้ ด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีวิธีการนำรูปแบบไปดำเนินการอย่างต่อเนื่องสู่ความยั่งยืน ที่สามารถทำได้จริงในบริบทของโรงพยาบาลรามาธิบดี เน้นการปฏิบัติที่เรียบง่าย แต่มีประสิทธิภาพสูง ได้จัดทำผังการไหลเวียนของงานดูแลผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย เป็นลายลักษณ์อักษร โดยใช้ผู้ป่วยและหลักการพยาบาลเป็นศูนย์กลาง หลังการทดลอง พบว่า ปริมาณงานไม่เพิ่มขึ้น อัตราความถูกต้องของการปฏิบัติตามมาตรฐานเพิ่มขึ้น (p=.003) ระยะเวลาที่ใช้ไม่เพิ่มขึ้น ความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงานไม่ลดลง และต้นทุนต่อหน่วยในการให้บริการลดลง (p<.001) เสนอแนะให้ดำเนินการวิจัยต่อไปให้ครอบคลุมทั้งโรงพยาบาล และพัฒนาจนเป็นตัวแบบที่ดีของประเทศที่มีประสิทธิภาพสูงยิ่งๆขึ้น เสนอให้เพิ่มความเข้มข้นในนโยบายการให้บริการสุขภาพ ที่เน้นการทำงานแบบบูรณาการ และการมีส่วนร่วมของทีมสหสาขาวิชาชีพ ให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ"
} |
{
"en": "The research was quantitative research to study the team effectiveness of nursing instructors under the Ministry of Public Health. A sample of 325 was randomly selected from nursing instructors under the Ministry of Public Health. The research instrument was a questionnaire which used to collect data were (i) a personal information questionnaire; (ii) an opinion of emotional intelligence and individual characteristics; (iii) an opinion of servant leadership; and (iv) an opinion of team effectiveness. The data were analyzed using descriptive statistics. Findings revealed that team effectiveness of nursing instructors under the Ministry of Public Health was a high level ( = 4.14). The team relationships and team problem-solving were highest level ( = 4.20), and team members, team leader, and organizational environment ( = 4.19, 4.14, 3.88 respectively).",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลทีมของอาจารย์พยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุข โดยมีตัวอย่าง คือ อาจารย์พยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และมี คุณสมบัติตามเกณฑ์ จำนวน 325 ราย โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความคิดเห็นต่อความฉลาดทางอารมณ์ และคุณลักษณะของบุคคลแบบสอบถามความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการและแบบสอบถามความคิดเห็นต่อประสิทธิผล ทีมการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยให้ตัวอย่างตอบแบบสอบถามด้วยตนเองโดยความสมัครใจ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่าระดับประสิทธิผลทีมของอาจารย์พยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุขโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.14) โดยมีความสัมพันธ์ในทีมและการแก้ปัญหาของทีมที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( = 4.20) รองลงมาคือ สมาชิกทีม ( = 4.19) และผู้นำทีม ( = 4.14) ในขณะที่สภาพแวดล้อมขององค์การมีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด ( = 3.88)"
} |
{
"en": "Effectiveness of “Breastfeeding Support Package” to the ability to breastfeed among postpartum women This Quasi-experimental research (two groups) was aimed to evaluate the effectiveness of “Breastfeeding Support Package” (BFSP) to the ability to breastfeed among postpartum women. Participants were mothers admitted to the postpartum wards. There were 80 mothers, 40 each in both the control and study group. Participants in the control group were assigned to receive routine standard care to promote breastfeeding whereas the study group received “BFSP”. The questionnaires and interview were used for collecting the data. Descriptive statistics were used for analyzing the data. The results revealed that mothers in the study group had a higher rate to achieve exclusively breastfeed their child up to six months than mothers in the control group (57.50 % VS. 30.00%). Moreover, the mean score of knowledge related to breastfeeding in the study group was statistically significantly higher than those in the control group ( = 19.02, 17.42 respectively; p<.05). The mean score of perception of self-efficacy to breastfeed among the two groups was not significantly different (p<.05).",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของ “ชุดส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่” ต่อความสามารถในการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของสตรีหลังคลอด กลุ่มตัวอย่างคือสตรีหลังคลอดจำนวน 80 คน เป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 40 คน โดยกลุ่มควบคุมได้รับการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตามมาตรฐาน กลุ่มทดลองได้รับการดูแลโดยใช้ “ชุดส่งเสริมการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่” เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่าร้อยละ 57.50 ของสตรีหลังคลอดกลุ่มทดลองประสบความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีสตรีหลังคลอดที่ประสบความสำเร็จร้อยละ 30 และพบว่าสตรีหลังคลอดกลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้เฉลี่ยเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางที่ระดับ .05 ในขณะที่สตรีหลังคลอดทั้งกลุ่มทดลอง และควบคุมมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)"
} |
{
"en": "The purpose of this research was to develop and set standards for nurse anesthetists’ competency scale in Phramongkutklao hospital. The research was conducted in two main phases. The first phase was consisted of 2 steps. The first step was to explore and to select the essential nurse anesthetists’ competency by using focus group.The second step was to construct the competency scale by using the Behaviorally Rubrics score, testing the content validity index by 7 experts, then testing the quality of the instrument by inter-rater reliability and Hoyt, s analysis of variance, which was tested by 7 nursing anesthetists directors, 45 nurse anesthetists. The second phase was to cut-off point by 7 nurse anesthetists’ experts. The results are as follows: The nurse anesthetists’ competency scale in Phramongkutklao hospital consisted of 6 domains 43 items. The 6 domains are patient care before anesthesia(7items), patient care between anesthesia(13items), patient care after anesthesia(8items),use and maintain medical equipment(5items), coordinate communication(5items), develop quality(5items). The quality-testing results of instrument are as follow; CVI is 1, inter-rater reliability is .96 and Hoyt, s analysis of variance is .99. The cutting point of nurse anesthetists’ competency scale in Phramongkutklao hospital is T38.87",
"th": "การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบประเมินและกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะ โดยแบ่งการศึกษา เป็น 2 ระยะ คือ 1) สังเคราะห์องค์ประกอบรายการสมรรถนะโดยการสนทนากลุ่มและสร้างแบบประเมินโดยใช้เกณฑ์ประเมิน รูบริค 5 ระดับ วิเคราะห์ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 คน วิเคราะห์คุณภาพด้านความคงที่โดยทำการประเมิน สมรรถนะวิสัญญีพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าจำนวน 5 คน และนำแบบประเมินไปใช้กับวิสัญญีพยาบาลโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า จำนวน 45 คน หาความสอดคล้องภายในวิเคราะห์ความแปรปรวนฮอยท์ 2) กำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมิน สมรรถนะ โดยผู้เชี่ยวชาญการพยาบาลวิสัญญีที่ร่วมสร้างแบบประเมินจำนวน 7 คน ผลการศึกษาพบว่าแบบประเมินสมรรถนะวิสัญญีพยาบาล โดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบรูบริค 5 ระดับ ประกอบด้วย สมรรถนะ 6 ด้าน ข้อรายการสมรรถนะ 43 ข้อ ดังนี้ 1) การดูแลผู้ป่วยก่อนให้การระงับความรู้สึกจำนวน 7 ข้อ 2) การดูแลผู้ป่วย ระหว่างให้การระงับความรู้สึกจำนวน 13 ข้อ 3) การดูแลผู้ป่วยหลังให้การระงับความรู้สึกจำนวน 8 ข้อ 4) การใช้/บำรุงรักษาอุปกรณ์ การแพทย์และเทคโนโลยีจำนวน 5 ข้อ 5) การสื่อสารประสานงานจำนวน 5 ข้อ และ6) การพัฒนาคุณภาพจำนวน 5 ข้อ แบบประเมินมีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 1 ความเที่ยงเท่ากับ.96 และความสอดคล้องภายในด้วยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ เท่ากับ .99 เกณฑ์ตัดสินสมรรถนะวิสัญญีพยาบาลโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยรวมมีค่าคะแนนจุดตัดที่ T38.87"
} |
{
"en": "The objectives of this research were to study: 1) the relationship between registered nurses’ quality of work life and work life balance with psychological well-being; and 2) the factors could be jointly predict registered nurses’ psychological well-being in medium-sized private hospitals in the Bangkok Metropolitan. The samples were consisted of 296 registered nurses in medium-sized private hospitals in the Bangkok Metropolitan. Data were collected by questionnaires which consisted of 4 parts: personal factors, quality of work life, work life balance, and psychological well-being. Statistical parameter used in this research were Pearson’s product moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. Results showed that: 1) registered nurses’ quality of work life and work life balance (work/personal life enhancement) were positively related to registered nurses’ psychological well-being and registered nurses’ work life balance (work interference with personal life and personal life interference with work) was negatively related to registered nurses’ psychological well-being and 2) registered nurses’ quality of work life (social integration and growth and security), work life balance (personal life interference with work and work/ personal life enhancement) could jointly predicted 36.20 percentage of registered nurses’ psychological well-being in medium-sized private hospitals in the Bangkok Metropolitan at statistically significance at .01 level.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานและความสมดุลระหว่างงาน และชีวิตกับความผาสุกทางใจของพยาบาลวิชาชีพ และ 2) ปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ความผาสุกทางใจของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเอกชนขนาดกลางในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลางใน กรุงเทพมหานคร จำนวน 296 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย 4 ส่วนคือ ปัจจัยส่วนบุคคล คุณภาพชีวิต ในการทำงาน ความสมดุลระหว่างงานและชีวิตและความผาสุกทางใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพชีวิตในการทำงานและความสมดุลระหว่างงานและชีวิตด้านงานและชีวิตส่วนตัวส่งเสริม ซึ่งกันและกันมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผาสุกทางใจ ความสมดุลระหว่างงานและชีวิตด้านงานแทรกแซงชีวิตส่วนตัวและด้าน ชีวิตส่วนตัวแทรกแซงงานมีความสัมพันธ์ทางลบกับความผาสุกทางใจของพยาบาลวิชาชีพ และ 2) คุณภาพชีวิตในการทำงานด้าน ความก้าวหน้าและความมั่นคงในงานและด้านสังคมสัมพันธ์ ความสมดุลระหว่างงานและชีวิตด้านชีวิตส่วนตัวแทรกแซงงานและ ด้านงานและชีวิตส่วนตัวส่งเสริมซึ่งกันและกัน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความผาสุกทางใจของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชน ขนาดกลางในเขตกรุงเทพมหานครได้ ร้อยละ 36.20 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01"
} |
{
"en": "This study was a quasi-experimental research. The objective of research were to compared the medication adherence behaviors of schizophrenic patients, before and after received the brief intervention ; and between the groups that were received the brief intervention with the groups received routine nursing care. The samples were selected by the purposive sampling technique to include the schizophrenic patients. They were divided into two groups: 30 patients who were provided with a nursing care as the control group , and the other 30 patients who received brief intervention as the experimental group by simple random sampling and matching the sample group in terms of gender, age and education level. The intervention instruments was the brief intervention. Data were collected using the questionnaires of medication adherence behaviors. Data were analyzed by frequency, percentage and t-test. The results of this study showed that: The experimental group’s mean score of the medication adherence behaviors were significantly higher than before involving the brief intervention ; and significantly higher than control group at the level .05 (p<.01).",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของ ผู้ป่วยโรคจิตเภทก่อนและหลังได้รับการให้คำปรึกษาเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจแบบสั้นและระหว่างกลุ่มที่ได้รับคำปรึกษาเพื่อเสริม สร้างแรงจูงใจแบบสั้นกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย และจับคู่กลุ่มตัวอย่างด้านเพศ อายุและระดับการศึกษา กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แนวทางการให้คำปรึกษาเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจแบบสั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละและสถิติการทดสอบค่า t ผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยโรคจิตเภทหลังได้รับคำปรึกษาเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจแบบสั้นมีพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์ การรักษาดีกว่าก่อนได้รับคำปรึกษาเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจแบบสั้นและดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05"
} |
{
"en": "The purposes of this study were to 1) compare knowledge of professional nurses about critical patients with intercostals drainage (ICD) in an experiment group of profession nurses before and after using a computer assisted instruction (CAI),2)compare knowledge of professional nurses about critical patients with ICD in experiment group and a control group, and 3) study satisfaction of professional nurses influence using CAI. The samples were purposive selection twenty critical professional nurses in Police General Hospital. They were divided into two groups by simple random sampling. The experimental group 10participants received CAI and control group 10participants received normal teaching. The instruments were 1) CAI about nursing care of critical patients with ICD,2) test of knowledge about nursing care of critical patients with ICD, and 3) questionnaires of satisfaction for professional nurses using CAI. The statistics were percentage, mean, median, quartile deviation, standard deviation, Wilcoxon Signed Rank test, and Mann-Whitney U test. The research results were:1) the experiment group after using CAI had higher median of knowledge about critical patients with ICD than before using CAI and statistically significance at .01 level,2) The experiment group of professional nurses had higher median of knowledge of professional nurses about critical patients with ICD than the control group and statistical significance at .01 level, and 3) The professional nurses had overall satisfaction the CAI about critical patients with ICD in high level. Therefore, new critical professional nurses should be encouraged to be taught and review knowledge with CAI along with practice in order to increased knowledge of nursing care.",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความรู้เรื่องการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อระบายทรวงอกของพยาบาล วิชาชีพกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2) เปรียบเทียบความรู้เรื่องการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อ ระบายทรวงอกของพยาบาลวิชาชีพของกลุ่มทดลองที่ได้รับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนตามปกติ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อระบายทรวงอก ตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพจบใหม่ หอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลตำรวจ ที่ได้การเลือกแบบเจาะจง จำนวน 20 คน แล้ว สุ่มอย่างง่ายเป็น2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองที่ได้รับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จำนวน 10 คน และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนตาม ปกติ จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อ ระบายทรวงอก 2) แบบทดสอบความรู้เรื่องการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อระบายทรวงอก และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ ต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อระบายทรวงอก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมน-วิทนีย์ยู ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังได้รับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนพยาบาลวิชาชีพกลุ่มทดลองมีคะแนนมัธยฐานความรู้เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อระบายทรวงอกสูงกว่าก่อนได้รับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) พยาบาลวิชาชีพกลุ่มทดลองมีคะแนนมัธยฐานความรู้เรื่องการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อระบายทรวงอกสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) พยาบาลวิชาชีพมีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อระบายทรวงอกโดยรวมอยู่ในระดับมากดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพจบใหม่ได้รับการสอนและทบทวนความรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนควบคู่กับการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อให้มีความรู้ในการพยาบาลมากยิ่งขึ้น"
} |
{
"en": "The quasi-experimental research aimed to examine the effectiveness of resilience enhancement program by using problem - based learning in undergraduate nursing students. The samples of this study were divided into 2 groups. The experimental group consisted of 30 nursing students. The control group consisted of 30 nursing students. Both groups were selected by simple random sampling. The research instrument were 1) The Resilience Enhancement Program 2) Resilience questionnaire. Cronbach’s alpha coefficient of the resilience questionnaire was 0.96. Data were analyzed by descriptive statistics, pair t-test and Independent t-test. The findings indicated that 1) the resilience mean score of the experimental group after receiving the resilience enhancement program was significantly different higher than before at .01 level. 2) After implementing the program, the experimental group was significantly different than control group at .01 level.",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจด้วยการใช้การเรียนรู้โดย ใช้ปัญหาเป็นฐานในกลุ่มนักศึกษาพยาบาล โดยการเปรียบเทียบความเข้มแข็งทางจิตใจของนักศึกษาพยาบาล ในกลุ่มตัวอย่างจ ำนวน 60 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 30 คนและกลุ่มควบคุม จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจและแบบสอบถามประเมินระดับความเข้มแข็งทางจิตใจ ซึ่งผ่านการตรวจ สอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยใช้ Cronbach’s Alpha เท่ากับ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Pair t-test และ Independent t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ความเข้มแข็งทางจิตใจของนักศึกษาพยาบาลกลุ่มทดลองหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการเสริมสร้างเข้มแข็งทางจิตใจ สูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 2. ความเข้มแข็งทางจิตใจของนักศึกษาพยาบาลกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับที่ ระดับ .01"
} |
{
"en": "This study aimed to (1) compare the levels of positive thinking of postpartum mothers with unwanted pregnancy in the experimental group before and after receiving individual counseling; and (2) compare the positive thinking level of postpartum mothers with unwanted pregnancy in the experimental group who received individual counseling with the counterpart level of postpartum mothers with unwanted pregnancy in the control group who received normal care. The research sample consisted of 14 postpartum mothers with unwanted pregnancy in Songkhla Hospital, obtained by purposive sampling technique. Then, they were randomly divided into 2 groups, the experimental group and the control group, each of which containing 7 patients.The experimental groupreceived individual counseling for 10 sessions, each of which lasted for 50 minutes. The research instruments were (1) a scale to assess positive thinking, with reliability coefficient of .94; and (2) an individual counseling program for enhancing positive thinking of postpartum mothers with unwanted pregnancy. The employed statistics for data analysis were the median, inter-quartile range, Wilcoxon Matched Pairs Singed-Ranks Test, and Mann- Whitney U Test. The results showed that (1) the post-experiment positive thinking level of postpartum mothers with unwanted pregnancy in the experimental group who received individual counseling was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .01 level of statistical significance; and (2) the post-experiment positive thinking level of postpartum mothers with unwanted pregnancy in the experimental group who received individual counseling was significantly higher than the counterpart level of postpartum mothers with unwanted pregnancy in the control group who received normal care at the .01 level of statistical significance. This individual counseling program for enhancing positive thinking of postpartum mothers with unwanted pregnancy mayuse to individual counselingfor enhancing positive thinking of postpartum mothers with unwanted pregnancy between 14-30 years . The use of this shall be help postpartum mothers with unwanted pregnancy to continue to live a normal happy life.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความคิดเชิงบวกของมารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์กลุ่ม ทดลอง ก่อนและหลังการให้การปรึกษาแบบรายบุคคล และ 2) เปรียบเทียบความคิดเชิงบวกของมารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึง ประสงค์ กลุ่มทดลองที่ได้รับการให้การปรึกษาแบบรายบุคคลและกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลแบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในโรงพยาบาลสงขลา จำนวน 14 คน โดยการเลือกแบบ เจาะจง จากนั้ นสุ่มอย่างง่ายเพื่ อแบ่ งเป็ น2 กลุ่ มคื อกลุ่ มควบคุ มและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 7 คนเท่ากัน กลุ่ มทดลองได้ รั บการให้ การ ปรึกษาแบบรายบุคคล จำนวน 10 ครั้ง ครั้งละ 50 นาทีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่1) แบบวัดความคิดเชิงบวกที่มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .94 และ 2) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบรายบุคคลเพื่อส่งเสริมความคิดเชิงบวกแก่มารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึง ประสงค์ในโรงพยาบาลสงขลาสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ภายหลังการให้การปรึกษาแบบรายบุคคล มารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์กลุ่มทดลอง มีความคิดเชิงบวกสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) ภายหลังการให้การปรึกษาแบบรายบุคคล มารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์กลุ่มทดลอง มีความคิดเชิงบวกสูงกว่าของกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลแบบปกติ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โปรแกรมการให้การปรึกษามารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์นี้ สามารถนำไปใช้ในการให้การปรึกษาเพื่อเสริม สร้างความคิดเชิงบวกแก่มารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่มีอายุตั้งแต่ 14-30 ปี ให้สามารถดำรงชีวิตอย่างปกติสุขต่อไป"
} |
{
"en": "This participatory action research aimed to develop a model of family participation for promoting child development and to study the effectiveness of a model of family participation for promoting child development. The samples in this study included: Group 1 for developed the model included 8 main leaders selected by purposive sampling method. Group 2 was the target group that included 31 dyads of children and their parent who was representing their family. The research methodology included 3 phases: preparation phase, implementation phase, and evaluation phase. The research instruments were parental behaviors on promoting child development questionnaires, and the Denver Developmental Screening Test II (Denver II). The data were analyzed by using descriptive statistics, t-test, and McNemar test. The study findings revealed 1) the family participation model for promoting child development consisted of 5 components: assessing the problem, data presentation and analysis, activities, parents’ participation, and evaluation; 2) the mean score of parental behaviors on promoting child development after using the model significantly increased at .05; and 3) child development after using the model significantly changed at .05.",
"th": "การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยและเพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้รูปแบบ กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย กลุ่มแกนนำในการพัฒนารูปแบบ เลือกแบบเจาะจง จำนวน 8 คน และ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กและผู้ปกครองที่เป็นตัวแทนของครอบครัว จำนวน 31 คู่ การดำเนิน การวิจัย แบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะเตรียมการ ระยะดำเนินการตามรูปแบบ และระยะประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบ ถามพฤติกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กของผู้ปกครองและแบบทดสอบพัฒนาการเด็กปฐมวัย Denver II วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนา สถิติ t-test และ McNemar test ผลการศึกษา พบว่า 1)รูปแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการส่งเสริม พัฒนาการเด็ก มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การประเมินปัญหา การนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล การจัดกิจกรรม การมีส่วนร่วมของผู้ ปกครอง และการติดตามประเมินผล 2)คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมส่งเสริมพัฒนาการโดยรวมหลังการใช้รูปแบบเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3)พัฒนาการเด็กหลังการใช้รูปแบบมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05"
} |
{
"en": "This study used quasi-experimental research design, the one group pretest-posttest to examine the effect of chronic care model for slow progression of kidney in Tumbon Nongkhon Amphoe Meuang Ubonratchathani Province. The sample were 110 chronic disease patients, consist of DM, HT and CKD stage 1-3. Who came to receive treatment at Nongkhon subdistrict primary health care unit, Ubonratchathani province. The instruments consisted of 2 part, 1) Data collection included of the personal data record form, and knowledge evaluation questionnaire 2) self-care handbook and health record form. The statistics applied for analyzing data are frequency, percentage, mean, standard deviation, pair t-test and Wilcoxon matched-pairs signed ranks test.\nThe result of this study found that, The subjects significantly slow progression of kidney, had increasing of GFR and knowledgeable at the level of .01., the decrease of level of BUN and Creatinine after using the chronic care model at the level of .001.\nIt is recommended that the chronic care model should be future used as guidance for prevent and slow progression of kidney disease, Furthermore, applying the model for other chronic diseases for decrease co morbidity and severity of disease is also suggested.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบกึ่งทดลองชนิดแบบแผนการวิจัยกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่อการชะลอการเสื่อมของไต ตำบลหนองขอน จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่ม ตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 - 3 ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพ ตำบลหนองขอน จำนวน 110 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินความรู้ในการป้องกันและชะลอการเสื่อมของไต 2) เครื่องมือที่ใช้ ในการทดลองประกอบด้วยคู่มือการดูแลตนเองในการป้องกันการชะลอการเสื่อมของไต แบบบันทึกภาวะสุขภาพ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ pair – t test และ Wilcoxon matched-pairs signed ranks test\nผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีการชะลอการเสื่อมของไตลงได้ โดยมีค่าเฉลี่ยของ GFR หลังการทดลอง (M = 65.75, SD = 23.53) สูงกว่าก่อนการทดลอง (M = 64.46, SD = 23.52) (2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ในการป้องกันและชะลอการเสื่อม ของไตหลังให้ความรู้ (M = 16.55, SD = 2.33) สูงกว่าก่อนให้ความรู้ (M = 14.23, SD = 2.8) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 (t = - 12.47) (3) ผลการตรวจ BUN หลังการทดลองน้อยกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (Z = -7.76, p < .001) และ(4) ผลการตรวจ Creatinine หลังการทดลอง น้อยกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .001 (Z = -4.27, p < .001)\nผลการศึกษาสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการป้องกันและชะลอการเสื่อมของไต และนำรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรค เรื้อรังไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่นๆ อีกต่อไป เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และความรุนแรงของโรคลงได้"
} |
{
"en": "This descriptive research design aimed to study the factors predicting anxiety and depression among newly diagnosed breast cancer patients. The sample group consisted of 107 patients aged 18 years and older, who were undergoing chemotherapy at outpatient department and breast cancer surgery at Siriraj Hospital. The data were collected using the demographic data form, Connor-Davidson Resilience Scale, Self-Blame Attributions, The State-Trait Anxiety Inventory (STAI) Form Y-I and Form Y-II, Hospital Anxiety and Depression Scale. Descriptive statistics, Pearson’s Product Moment Correlation, and Stepwise Multiple Regression Analysis were used in data analysis.\nThe results of the study showed that the mean anxiety score was 2.82 (S.D. = 0.55) and the mean depression score was 0.98 (S.D. = 0.53). Resilience and trait anxiety could predict anxiety accounting for 72% of the variance (R2 = .720, p < .001). Self blame and trait anxiety could predict depression accounting for 59% of the variance (R2 = .590, p < .003).\nThe findings yielded by the present study should be developed into screening assessment and care guidelines for breast cancer patients in terms of mental state during the newly diagnosed stage.",
"th": "การวิจัยแบบศึกษาอำนาจการทำนาย ของปัจจัยความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะได้รับการวินิจฉัยใหม่ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ เพศหญิง อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มาเข้ารับการรักษาที่หอผู้ป่วยศัลยศาสตร์และในหน่วยเคมีบำบัด โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯในปี พ.ศ. 2561 จำนวน 107 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและการรักษา แบบวัดความเข้มแข็งสร้างสรรค์ แบบสอบถามการตำหนิตนเอง แบบสอบถามความวิตกกังวล และแบบสอบถามภาวะซึมเศร้า วิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา วิเคราะห์อำนาจการทำนายโดยใช้สถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน\nผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีคะแนนความวิตกกังวลเฉลี่ย 2.82 (S.D. = 0.55) และผู้ป่วยมีคะแนนภาวะซึมเศร้าเฉลี่ย 0.98 (S.D. = 0.53) ความยืดหยุ่นทางจิตใจและความวิตกกังวลแฝงสามารถทำนายความวิตกกังวลในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะได้รับการวินิจฉัยใหม่ได้ร้อยละ 72 (R2 = .720, p < .001) ในขณะที่การตำหนิตนเองและความวิตกกังวลแฝงสามารถทำนายภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะได้รับการวินิจฉัยใหม่ได้ร้อยละ 59 (R2 = .590, p < .003)\nผลการศึกษานี้นำไปใช้เป็นแนวทางในการคัดกรองและประเมินความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ระยะได้รับการวินิจฉัยใหม่ทุกราย เพื่อค้นหาผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในระยะได้รับการวินิจฉัยใหม่"
} |
{
"en": "The purpose of this quasi-experimental research was to study the Effects of a smartphone application on knowledge discharge outcome among patients with mild traumatic brain injury. The sample group were 66 mild traumatic brain injury patients arrived at the Emergency Department. They were aged at least 18 years. The Glasgow Coma Scale equals to 15 points. The participants were purposive sampling into the controlled and experimental group, 33 for each group. The experimental group was received the suggestion for observed neurological system symptoms via the smartphone application. The controlled group was received the suggestion I accordance with the nursing standards. The data were collected by using the interview on the mild traumatic brain injury patients. All of the instruments were validated for content validity 0.98 by 5 professionals. When analyzed and compared the difference of knowledge scores within the group and between the controlled and experimental group, the Paired t-test and Independent t-test are used. The research results reveal that the experimental group has higher knowledge scores after the trial than before the trial with statistical significance 0.05 (t = 15.38, p < 0.001). The knowledge scores of the experimental group are higher than the controlled group with statistical significance at level of 0.05 (t = 3.88, p < 0.001).",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์บนสมาร์ทโฟนก่อนการจำหน่ายต่อความรู้ ของผู้ป่วยสมองบาดเจ็บเล็กน้อย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะสมองบาดเจ็บเล็กน้อยที่เข้ารับการรักษาที่ แผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน จำนวน 66 คน อายุ 18 ปีขึ้นไปและมีคะแนนระดับความรู้สึกตัว (Glasgow Coma Scale) เท่ากับ 15 คะแนน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 33 คน ซึ่งกลุ่มทดลองได้รับการให้คำแนะนำ การปฏิบัติตัวและสังเกตอาการทางระบบประสาทตามมาตรฐานการพยาบาลและเสริมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์บนสมาร์ทโฟน ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการให้คำแนะนำตามมาตรฐานการพยาบาล เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ความรู้ผู้ป่วยสมองบาดเจ็บเล็ก น้อย ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.98 วิเคราะห์เปรียบเทียบ ผลต่างของคะแนนความรู้ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ Paired t-test และ Independent t-test ผลการศึกษาพบว่า คะแนนความรู้ผู้ป่วยสมองบาดเจ็บเล็กน้อยหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 (t = 15.38, p < 0.001) และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้โดยใช้สถิติ Independent t-test พบว่าหลังการ ทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (t = 3.88, p < 0.001)"
} |
{
"en": "The purposes of this descriptive study were to examine the professional nurses’ diagnosis and care planning competencies in a private hospital. The sample comprised 32 professional nurses who worked for inpatient units and were selected by purposive sampling. The research tool was a competence appraisal checklist with 3 point rating scale and one open-ended note. The content validity of the tool was between 0.6-1.00, and its reliability was 0.88.The collected data were analysed by using descriptive statistics (frequency,percent, mean, and standard deviation), and content analysis. The findings were as follows. 1) Diagnosis competence of professional nurses was at moderate level. 2) Their care planning competence was also at the moderate level. Moreover, some issues of their both competences were disclosed. 1) Some diagnoses were incorrect and incomplete, no psychosocial diagnoses and diagnoses for discharge planning, without supporting data, and no diagnosis priority. 2) Some of care plans were absent; expected outcomes were unclear and unmeasurable; nursing activities were incomplete and excluded in psychological diagnoses, and uncovered 4 dimensions of nurses’ roles. Finally, 3) handwriting was illegible.",
"th": "การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะการวินิจฉัยและการวางแผนการพยาบาลของพยาบาล วิชาชีพ โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยในที่ได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 32 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบประเมินสมรรถนะการวินิจฉัยและการวางแผนการพยาบาล ซึ่งเป็นแบบประเมินมาตราส่วน ประมาณค่า 3 ระดับ และข้อคำถามปลายเปิด 1 ข้อ เครื่องมือวิจัยมีค่าความตรงตามเนื้อหาระหว่าง 0.6-1.00 และค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) สมรรถนะการวนิ ิจฉัยการพยาบาลของพยาบาลวชิ าชีพอย่ใู นระดับปานกลาง 2) สมรรถนะการวางแผนการพยาบาลของพยาบาล วิชาชีพอยู่ในระดับปานกลางเช่นกัน นอกจากนี้ยังพบประเด็นปัญหาบางประการดังนี้ 1) การวินิจฉัยการพยาบาล บางข้อไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ขาดข้อวินิจฉัยด้านจิตใจและข้อวินิจฉัยเพื่อวางแผนการจำหน่าย ขาดข้อมูลสนับสนุน และไม่ลำดับความสำคัญของ ปัญหา 2) การวางแผนการพยาบาล บางข้อวินิจฉัยไม่มีการวางแผนการพยาบาล เกณฑ์การประเมินไม่ชัดเจนหรือวัดไม่ได้ กิจกรรม การพยาบาลไม่ชัดเจนหรือไม่สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน ขาดกิจกรรมการพยาบาลของปัญหาด้านจิตใจ และกิจกรรมการ พยาบาลไม่ครบถ้วนตามบทบาท 4 มิติ และ 3) ลายมืออ่านยาก"
} |
{
"en": "This study was a quasi experimental design. It aimed to (1) compare the breast cancer-preventive behaviors of women at risk before and after receiving the coaching program on breast cancer-preventive behaviors and (2) compare between the breast cancer-preventive behaviors of women at risk who received the coaching program and those who received usual care. The participant of women age 35-59 years who are relatives of the patient or secondary breast cancer and/or women receiving hormonal estrogen more than 5 years who received services at the hospital. Women at risk interested in joining a group of 75 women. The researcher selected participants by using simple random sampling of 40 women at risk equally divied into a contral group and experimental group. The experimental group received the program including attended a 60-minute coaching session on breast cancer-preventive behaviors at Lerdsin Hospital and home visits were provided 4th weeks after receiving the coaching session. Research tools included the coaching program on breast cancer-preventive behaviors. Data collection included a questionnaire on demographic information and Breast Cancer-Preventive Behaviors Questionnaire, the control group received usual care from the nurse professional at the outpatient surgery clinic of Lerdsin Hospital. The duration of the study was totally 8 weeks. To analyze the data, Descriptive statistics (percentages, means and standard deviation), The Wilcoxon Matched Pairs Test and The Mann-Whitney U Test were used.The results showed that breast cancer-preventive behaviors in women at risk after receiving the coaching program than before the coaching program at the significance level .05 and breast cancer-preventive behaviors in women at risk who had received the coaching program than those who had received usual care at the significance level .05. Therefore, nurses should use coaching program on breast cancer-preventive behaviors in the campaign to protect women at risk of breast cancer.",
"th": "งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านมของสตรีกลุ่ม เสี่ยงก่อนและภายหลังได้รับโปรแกรมการสอนแนะพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านม และ (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกัน มะเร็งเต้านมของสตรีกลุ่มเสี่ยงระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสอนแนะพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านมกับกลุ่มที่ได้รับการสอน ตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีอายุ 35-59 ปี ที่เป็นญาติสายตรงหรือสายรองของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และ/หรือ สตรีที่ได้รับฮอร์โมน เอสโตรเจนนานมากกว่า 5 ปี ที่มารับบริการที่โรงพยาบาล โดยมีสตรีสนใจเข้าร่วมสมัครเป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 75 คน ผู้วิจัยสุ่ม กลุ่มตัวอย่าง ด้วยวิธีสุ่มอย่างง่ายโดยการจับฉลากแบบไม่แทนที่ จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 20 คน และกลุ่มทดลอง 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสอนแนะพฤติกรรมการป้องกันมะเร็ง เต้านมที่โรงพยาบาลเลิดสิน ใช้ระยะเวลาประมาณ 60 นาที และได้รับการเยี่ยมบ้านในสัปดาห์ที่ 4 ภายหลังได้รับโปรแกรมการสอนแนะพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านมที่โรงพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยโปรแกรมการสอนแนะพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านม เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านม ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับการ สอนตามปกติจากพยาบาลวิชาชีพคลินิกผู้ป่วยนอกศัลยกรรมที่โรงพยาบาลเลิดสิน ระยะเวลาในการดำเนินการวิจัยจนถึงเก็บรวบรวม ข้อมูลสิ้นสุดที่สัปดาห์ที่ 8 สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทดสอบด้วยสถิติ The Wilcoxon Matched Pairs Testและ The Mann-Whitney U Test ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านม ของสตรีกลุ่มเสี่ยงภายหลังได้รับโปรแกรมการสอนแนะพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านมดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการสอนแนะ พฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ พฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านมของสตรีกลุ่มเสี่ยง กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสอนแนะพฤติกรรมการป้องกันมะเร็งเต้านมดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ดังนั้นพยาบาลวิชาชีพควรใช้โปรแกรมการสอนแนะพฤติกรรมการป้องกันมะเร็ง เต้านมในการรณรงค์ให้สตรีกลุ่มเสี่ยง ป้องกันโรคมะเร็งเต้านม"
} |
{
"en": "This study aimed to examine level and relationships of knowledge, attitude and smoking cessation promotion behavior for smoker patients among Air Force student nurses. Samples were 86 Air Force student nurses. Questionnaires composed of demographic data, knowledge, attitude and smoking cessation promotion behavior questionnaires. Data were analyzed by descriptive statistic and Pearson product moment correlation coefficient.\nThe results showed that majority of the samples’ knowledge level of smoking was good ( = 11.17, S.D. = 1.64), their attitude was a good level ( = 65.52, S.D. = 5.13), and smoking cessation promotion behavior for smoker patients was a medium level ( = 19.58, S.D. = 3.10). The findings of the relationships revealed thatknowledge and attitude were significantly correlated to smoking cessation promotion behavior for smoker patients (r = 0.32, 0.36, p<0.05, respectively).\nThese results can be used to guide learning process about tobacco control for nursing student in the future.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่ ในผู้ป่วยที่สูบบุหรี่ของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ จำนวน 86 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามความรู้ เจตคติและพฤติกรรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน\nผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการสูบบุหรี่อยู่ในระดับดี ( = 11.17, S.D. = 1.64) เจตคติ อยู่ในระดับดี ( = 65.52, S.D. = 5.13) และพฤติกรรมการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยที่สูบบุหรี่อยู่ในระดับปานกลาง ( = 19.58, S.D. = 3.10) ความรู้และเจตคติมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมการเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยที่สูบบุหรี่อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (r = 0.32,0.36, p<0.05) ตามลำดับ\nผลการวิจัยสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเรื่องการควบคุมการบริโภคยาสูบให้แก่นักเรียน พยาบาลต่อไป"
} |
{
"en": "The objective of this research was to develop and check the concordance confirmatory of the inpatient department users experience assessment form based on healthcare healing environmental concept. The sample size was 200 patients in the inpatient ward of a secondary hospital in Thailand. The data were collected using the developed questionnaire with the Index of Consistency (IOC) = 0.93 and the Content Validity Index (CVI) = 0.915., Confirmatory Factor Analysis (CFA) and consideration by item get the suitable result, there are 35 variables in 5 elements or factors left. When analyzing the confirmatory factors found that the weight values of the factors were positive value between 0.518-0.888 with statistically significant level = 0.05. The results of the concordance test of the users experience model were found that the chi-squared score = 400.216 at the degree of freedom (df) = 448, the probability = 0.902 (CMIN/DF), the goodness-of-fit index (GFI), The adjusted goodness-of-fit index (AGFI) and Confirmatory Fit Index (CFI) = 0.902, 0.863 and 1.000 sequentially, The Standardized Root Mean Square Residual (SRMR) = 0.000 and the root mean square error of approximation (RMSEA) = 0.000 which shows that the model of the inpatients department users experience factors comply with the empirical data in good condition.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องเชิงยืนยันของแบบประเมินประสบการณ์ผู้รับบริการ หอผู้ป่วยในตามแนวคิดสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาในสถานพยาบาล โดยการเลือกใช้กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงในกลุ่มผู้รับบริการ หอผู้ป่วยในของโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิแห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 200 คน เก็บข้อมูลโดยใช้การตอบแบบประเมินที่พัฒนา ขึ้น มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) เท่ากับ 0.93 และมีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (CVI) เท่ากับ 0.915 วิเคราะห์องค์ประกอบเชิง ยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA) และพิจารณารายข้อ ทำให้ได้สรุปผลที่เหมาะสม เหลือตัวแปรทั้งสิ้น 35 ข้อ อยู่ใน 5 องค์ประกอบหรือปัจจัย เมื่อทำการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า ค่าน้ำหนักขององค์ประกอบมีค่าเป็นบวก โดยอยู่ ระหว่าง 0.518-0.888 และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของแบบจำลองประสบการณ์ พบว่า ค่าไค-สแควร์ = 400.216 ที่องศาอิสระ (df) = 448 มีค่าความน่าจะเป็น=0.893 (CMIN/DF) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) และดัชนีวัดระดับความกลมกลืนเปรียบเทียบ (CFI) = 0.902, 0.863 และ 1.000 ตามลำดับ ค่ารากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (SRMR) = 0.000 และค่ารากของค่าเฉลี่ยกำลัง สองของค่าความคลาดเคลื่อนโดยประมาณ (RMSEA) = 0.000 แสดงว่าแบบจำลององค์ประกอบประสบการณ์ผู้รับบริการหอผู้ป่วย ในนี้ สอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในเกณฑ์ที่ดี"
} |
{
"en": "Knee osteoarthritis is the significant public health problem which affects the elderly’s quality of life. It is necessary to provide early preparation for risk people to prevent and delay disease severity. This survey research was aimed to identify the correlation and influencing predictors among selected factors and health preventive behaviors. The samples consisted of 230 teachers who were working at the primary schools in Nakhon Pathom Province. Data were conducted from June to July, 2017. The research instruments were included the knee osteoarthritis severity assessment and preventive health behaviors questionnaire of knee osteoarthritis. These instruments were validated by experts with the reliability of 0.84 and 0.76 respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics, Pearson’s Product-moment correlation coefficients and multiple regression.\nThe results revealed that the disease severity perception was significantly related to preventive health behaviors, age, body weight, worked-year number. (r =.145; r = .247; r = .135; r = .755), age was correlated to male and female, and body mass index. (r = .426; r = .755), and age was associated with worked-year number (r = .838). The selected factors presented that female, body mass index, body weight, and age were significantly predicted preventive health behaviors which can be explained 11% of variance. The researchers suggest that nurses should develop health behavior modification program and focus on the influence of predicting factors to prevent and decelerate knee osteoarthritis severity for late adulthood group.",
"th": "โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นปัญหาสาธารณสุขที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การเตรียมความพร้อมของประชาชน กลุ่มเสี่ยงในการป้องกันโรคหรือชะลอความรุนแรงของโรคจึงเป็นสิ่งสำคัญ การวิจัยเชิงสำรวจนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความ สัมพันธ์และอำนาจการทำนายของกลุ่มปัจจัยคัดสรรต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ กลุ่มตัวอย่างเป็นครูระดับ ประถมศึกษาในจังหวัดนครปฐม จำนวน 230 คน เก็บข้อมูลในช่วงเดือนมิถุนายน ถึง กรกฎาคม 2560 ด้วยแบบสอบถามคุณลักษณะ ส่วนบุคคล แบบประเมินการรับรู้ของโรคข้อเข่าเสื่อม และพฤติกรรมการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ ที่ผ่านการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิและมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.84 และ 0.76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์ของเพียร์สันและสถิติการวิเคราะห์พหุคูณ\nผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยความรุนแรงโรคสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันโรคฯ (รวม) อายุ น้ำหนักตัว และ จำนวนปีทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .145; r = -.247; r = -.135; r = -.200) ปัจจัยน้ำหนักตัว สัมพันธ์กับเพศชาย เพศหญิง และดัชนี มวลกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .426; r = -.426; r = .755) ปัจจัยอายุสัมพันธ์กับจำนวนปีทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .838) เมื่อวิเคราะห์อำนาจการทำนายของปัจจัยคัดสรร พบว่า ปัจจัยเพศหญิง ดัชนีมวลกาย น้ำหนักตัว และอายุ สามารถร่วม กันทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการป้องกันโรคฯ ได้ร้อยละ 11.00 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05)\nผู้วิจัยเสนอแนะว่าควรเร่งพัฒนาโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อการป้องกันโรคและหรือชะลอความ รุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมสำหรับกลุ่มคนวัยผู้ใหญ่ตอนปลาย โดยคำนึงถึงอิทธิพลของปัจจัยทำนายดังกล่าว"
} |
{
"en": "The purpose of this descriptive study was to explore patient safety culture as perceived by nurses in state hospitals and compare perception of patient safety culture among nurses in different level of hospitals. Five hundred registered nurses were recruited by stratify random sampling of 10 % of the number of the regional hospital and general hospital.Data were collected using a 5-point Likert scale of the Hospital Survey on Patient Safety developed by AHRQ with Chronbach alpha coefficient of .79. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and independent T test.\nResults showed that the average perception scores of patient safety culture regarding management of safety, working safety, communication within units were at a high level and working of the supervisor/head of unit was at a moderate level. Supporting for safety culture regarding team work was not statistically significantly different (p = .11) between nurses of regional hospital and general hospital. Ninety four percent of nurses reported experience of reporting adverse event and the majority of them reported ≥21 times. The report of near miss incidence in general hospital was statistically significantly higher than that of regional hospital (p = .02). Nursing administrators should raise awareness on patient safety among nurses in regional and general hospitals and set policy on patient safety culture in their organizations.",
"th": "การศึกษาเชิงพรรณานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลใน โรงพยาบาลของรัฐ และเปรียบเทียบการรับรู้ของพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐแต่ละระดับ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ ปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 500 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิหลายขั้นตอน ร้อยละ 10 ของโรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลทั่วไป เครื่องมือวิจัยคือแบบสอบถาม Hospital Survey on Patient Safety ของ Agency for Healthcare Research and Quality แปลด้วยกระบวนการแปลย้อนกลับ (back translation) เป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า ตรวจสอบระดับความเชื่อมั่นด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย และสถิติเชิงอ้างอิงเพื่อเปรียบเทียบโดยใช้ independent t-test\nผลการศึกษา พบว่า คะแนนเฉลีย่ การรับรู้ เรื่อง วัฒนธรรมความปลอดภัยของผู้ป่วย ด้านการบริหารความปลอดภัยความปลอดภัยเกี่ยวกับการทำงาน การสื่อสารภายในหน่วยงาน อยู่ระดับมาก และด้านการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชา อยู่ระดับปาน กลาง ด้านการสนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย การทำงานเป็นทีมระหว่างพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .12) การรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ พบว่า พยาบาลเคยรายงานเหตุการณ์ ร้อยละ 94 และส่วนใหญ่รายงาน ≥ 21 ครั้ง การเขียนรายงานเหตุการณ์ที่ผิดพลาดที่ผู้ป่วยอาจได้รับอันตรายในโรงพยาบาลทั่วไป สูงกว่าโรงพยาบาลศูนย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .02) ผู้บริหารทางการพยาบาลควรสร้างเสริมมาตรการการรับรู้วัฒนธรรม ความปลอดภัยของผู้ป่วยแก่พยาบาลอย่างชัดเจนและทั่วถึง"
} |
{
"en": "Based on the physical changes for elderly into the decay of the body, these changes can affect to easily get illness, such as diabetes mellitus, hypertension, and depression. Health literacy is an important factor on developing health behavior and preventing diseases among elderly. Based upon the reviews, there has been conducted the health literacy’s scale, but no research study has been specifically designed for a Thai-version of the health literacy questionnaire for self-care (HLQFSC) among elderly. The purpose of this study was to develop and validate a Thai-version instrument measuring health literacy for self-care among elderly that covered its reliability and validity. The HLQFSC among elderly living in Bangkok was developed from Sorensen et al. (2012)’s framework and empirically validated the content by five experts for elderly concept, as well as reliability with Cronbach’s alpha coefficient as a pilot study. The HLQFSC was examined by descriptive statistics, Pearson’s correlation coefficient, and confirmatory factor analysis.\nThe results showed that there were 600 elderly. Most participants aged between 60-65 years of old, and 69.2% of the participants were male. The mean of total health literacy was 3.58. The final version of the HLQFSC had 22 items, with the Cronbach’s alpha coefficient of 0.950. The confirmatory factor analysis showed that the model was fitted with acceptable fit using most criteria (χ2 = 656.32, df = 205, CFI = 0.99, GFI = 0.91, TLI = 0.98, RMSEA = 0.061), and also the 4-factors model was confirmed: 1) Assess 2) Understand 3) Appraise, and 4) Apply. The Thai-version of the HLQFSC had good psychometric properties. It can be used for assessing health literacy for self-care among elderly.",
"th": "การเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพของผู้สูงอายุ นำไปสู่ความเสื่อมของร่างกาย การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลกระทบให้ ผู้สูงอายุเกิดโรคได้ง่ายขึ้น เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะซึมเศร้า ความรอบรู้ทางสุขภาพเป็นตัวแปรสำคัญของ การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ และการป้องกันโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พบว่าเครื่องมือวัดความ รอบรู้ทางสุขภาพยังไม่มีการพัฒนาแบบวัดความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้สูงอายุในฉบับภาษาไทย ทั้งนี้งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้สูงอายุทั้งด้านความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น ดำเนิน การวิจัยโดยสร้างแบบวัดความความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาตามการนิยามของโซเรนเซนและ คณะ (2012) และนำแบบวัดไปตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ จำนวน 5 ท่าน จากนั้นนำ แบบวัดไปทดลองใช้ เพื่อหาความเที่ยงด้วยการหาสัมประสิทธิ์แอลฟาตามวิธีของครอนบาค และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน\nผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุจำนวน 600 คน โดยส่วนมากมีอายุระหว่าง 60-65 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 69.2 ค่าเฉลี่ยความรอบรู้ทางสุขภาพเท่ากับ 3.57 แบบวัดประกอบด้วยคำถาม 22 ข้อ โดยมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.950 สำหรับผลการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพบว่าแบบจำลองการวัดมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ผ่านเกณฑ์ที่ยอมรับได้ χ2 = 656.32, df = 205, CFI = 0.99, GFI = 0.91, TLI = 0.98, RMSEA = 0.061 และสนับสนุนว่าประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ 1) การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ 2) การเข้าใจข้อมูลสุขภาพ 3) การวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ และ 4) การประยุกต์ใช้ข้อมูลสุขภาพ ดังนั้น แบบวัดความรอบรู้ทางสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพการวัดที่น่าเชื่อถือ และสามารถนำไปใช้ประเมิน ความรอบรู้ทางสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุได้ต่อไป"
} |
{
"en": "This Quasi-experimental research aim to assess the effects of pulmonary rehabilitation program among chronic obstructive pulmonary disease(COPD) patients in community. 30 COPD patients who met the criteria were recruited in the study, The sample were split into 2 groups, 15 of them were experimental group who received pulmonary rehabilitation program the others 15 were comparative group who received normal care. Data gathering tools were personal interview form of COPD and risk factors of exacerbation, health assessment form, and evaluation of dyspnea were include DVAS, FEV1, PEF and blowing-sucking water bottom. The period of the study were 12 weeks. Data were analyzed by mean, standard deviation and use Mann- whitney U test The results revealed that the experimental group had an average of dyspnea score; from evaluation as following ; DVAS = 24 (S.D = 9.10) , FEV1 = 1.72 (S.D = 0.32) , PEF = 3.73 (S.D = 54.05) and blowing-sucking water bottom = 8.78 (S.D = 0.74). The comparative group had an average score of dyspnea from evaluation as following ; DVAS = 26 (S.D = 9.85), FEV1 = 1.69 (S.D = 0.32),PEF = 3.95 (S.D = 42.13) and blowing-sucking water bottom = 7.39 (S.D = 1.17). When compared dyspnea by Mann- whitney U test. Experimental group and comparative group was non-significant difference at .05 when assessment of DVAS, FEV1 and PEF but assessment of blowing-sucking water bottom found comparison group have dyspnea less than experimental group was statistical significant difference at .01 (p-value =.002)",
"th": "การวิจัย กึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูมรรถภาพปอดในผู้ป่วยโรคปอด อุดกั้นเรื้อรังในชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จำนวน 30 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้แบ่งเป็นกลุ่ม ทดลองที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดฯ 15 คนและกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับการดูแลปกติ 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์ลักษณะส่วนบุคคล ภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและภาวะเสี่ยงที่ทำให้เกิดการกำเริบของ ภาวะหายใจลำบาก แบบประเมินภาวะสุขภาพและแบบประเมินภาวะหายใจลำบากซึ่งประกอบด้วย DVAS FEV1 PEF และการ เป่า-ดูดขวดน้ำ เครื่องมือดำเนินการวิจัยคือ โปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดฯ ในระยะเวลา 12 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่า เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Mann-Whitney U test\nผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการหายใจลำบากจากการประเมิน DVAS = 24 (S.D = 9.10) จาก FEV1 =1.72 (S.D = 0.32) จาก PEF = 3.73 (S.D = 54.05) และจากการเป่า-ดูดขวดน้ำ = 8.78 (S.D = 0.74) ส่วนกลุ่ม เปรียบเทียบมีคะแนนเฉลี่ยการหายใจลำบากจากการประเมิน DVAS = 26 (S.D = 9.85) จาก FEV1 = 1.69 (S.D = 0.32) จาก PEF = 3.95 (S.D = 42.13) และจากการเป่า-ดูดขวดน้ำ = 7.39 (S.D = 1.17) เมื่อเปรียบเทียบภาวะหายใจลำบากจากการ ประเมินแต่ละวิธี ด้วยสถิติ Mann-Whitney U test พบว่า ภาวะหายใจลำบากของกลุ่มทดลองกับกลุ่มเปรียบเทียบไม่มีความแตก ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อประเมินด้วย DVAS , FEV1 และPEF แต่จากการประเมินด้วยการเป่า-ดูดขวดน้ำ พบว่า กลุ่มเปรียบเทียบมีภาวะหายใจลำบากน้อยกว่ากลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p = .002)"
} |
{
"en": "The purposes of this study were to 1) describe knowledge, attitude, and perceived nursing skill based on patient safety goals of professional nurses in Police General Hospital, and 2) examine the correlations among those three variables. Two-hundred and seventy-eight persons with professional nurses in Police General Hospital were recruited by stratified random sampling method. Study Instruments consisted of 1) the Personal Data Record Form, 2) the Patient Safety Knowledge Questionnaire which had the confidence at .71 (KR-20), 3) the Patient Safety Attitude Questionnaire, and 4) Perceived of Patient Safety Skill Questionnaire had the Cronbach’s alpha coefficient at .86 and .95 consequently. Descriptive statistics and Pearson Product Moment Correlation Coefficient analysis were used to analyse data.\nThe results revealed that most of the samples’ knowledge level of patient safety was good (51.10%) and their attitude toward patient safety was at excellent level (46.40%). Perceived nursing skill based on patient safety was at excellent level (59.70%). There was a significant correlation between attitude and perceived nursing skill based on patient safety (r =.731, p < .001), but the knowledge was not significantly correlated to attitude and perceived nursing skill based on patient safety (r = .057 and .018, p > .05, respectively). The findings of this study suggest that the development of patients’ safety should be promoted in order to improve hospital’s quality.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความรู้ เจตคติ และการรับรู้ทักษะทางการพยาบาลตามหลักการดูแลความ ปลอดภัยผู้ป่วย ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลตำรวจ และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาล วิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลตำรวจ จำนวน 278 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยผู้ป่วย แบบสอบถามเจตคติต่อความปลอดภัย ผู้ป่วย และ แบบสอบถามการรับรู้ทักษะทางการพยาบาลตามหลักการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย โดยค่าความเที่ยงของแบบทดสอบ ความรู้ โดยใช้สูตรคูเดอร์-ริชาร์ดสัน เท่ากับ .71 และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเจตคติ และ แบบสอบถามการรับรู้ทักษะ ทางการพยาบาลตามหลักการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคได้ .86 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสัมประสิทธิสหสัมพันธของเพียร์สัน\nผลการวิจัย พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยผู้ป่วยอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 51.10) มีเจตคติต่อ ความปลอดภัยผู้ป่วยอยู่ในระดับดีมาก (ร้อยละ 46.40) และมีการรับรู้ทักษะทางการพยาบาลตามหลักการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย อยู่ในระดับดีมาก (ร้อยละ 59.70) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่าเจตคติกับการรับรู้ทักษะทางการพยาบาลตามหลักการดูแล ความปลอดภัยผู้ป่วยมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .731, p < .001) ส่วนความรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับ เจตคติและการรับรู้ทักษะทางการพยาบาลตามหลักการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย (r = .057 และ .018, p > .05 ตามลำดับ) ข้อเสนอแนะผลการวิจัย ผู้บริหารโรงพยาบาลและผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการเสริมสร้าง ทักษะทางการพยาบาลตามหลักการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย ทั้งในระดับหน่วยงานและระดับโรงพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น"
} |
{
"en": "The purpose of this study were to determine the factors that predictors of parents caring behavior for exacerbation in school-age children with allergic rhinitis. This study sample included 213 parents of school-age children with allergic rhinitis. From using of multi-stage random sampling. Data were analyzed using descriptive statistic pearson’s product moment correlation coefficient and stepwise multiple regression. The major finding were as follows: 1) Parents caring behavior for exacerbation prevention in school-age children with allergic rhinitis was at appropriate high level ( = 150.87, S.D. = 3.21) 2) Perceived self-efficacy, Perceived benefit, emotional support, appraisal support, instrumental support, income and information support were positively significantly correlated with parents caring behavior for exacerbation prevention in school-age children with allergic rhinitis. (r= .497, .403, .306, .279, .263, .237 and .227, p < .01 at respectively) and perceived barrier were negatively significantly correlated with parents caring behavior for exacerbation prevention in school-age children with allergic rhinitis. (r = -.361, p < .01) and 3) Perceived self-efficacy (β = .351), perceived benefit (β = .311), income (β = .150) and perceived barrier (β = -.133) were significant predictors and together account for 36.7 percent of the parents caring behavior for exacerbation prevention in school-age children with allergic rhinitis (R2 = .367, p < .05)",
"th": "การวิจัยสหสัมพันธ์เชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลของพ่อแม่เพื่อป้องกันอาการ กำเริบของโรคภูมิแพ้ทางจมูกในเด็กวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นพ่อแม่เด็กวัยเรียนโรคภูมิแพ้ทางจมูกจำนวน 213 คน คัดเลือกกลุ่ม ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติการ ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า: 1) พฤติกรรมการดูแลของพ่อแม่เพื่อป้องกันอาการกำเริบของโรคภูมิแพ้ทางจมูกใน เด็กวัยเรียนโดยรวม ถูกต้องเหมาะสมอยู่ในระดับสูง ( = 150.87, S.D. = 3.21) 2) การรับรู้ความสามารถของตนเอง, การรับรู้ ประโยชน์, การสนับสนุนด้านอารมณ์, การสนับสนุนด้านการประเมินเปรียบเทียบและประเมินค่า, การสนับสนุนด้านวัตถุ สิ่งของ การเงิน และแรงงาน, รายได้ และการสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลของพ่อแม่เพื่อ ป้องกันอาการกำเริบของโรคภูมิแพ้ทางจมูกในเด็กวัยเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= .497, .403, .306, .279, .263, .237 และ .227) ส่วนการรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการดูแลของพ่อแม่เพื่อป้องกันอาการกำเริบของโรคภูมิแพ้ ทางจมูกในเด็กวัยเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= -.361) และ 3) การรับรู้ความสามารถของตนเอง (β = .351), การรับรู้ประโยชน์ (β = .311), รายได้ (β = .150) และ การรับรู้อุปสรรค (β = -.133) สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการดูแล ของพ่อแม่เพื่อป้องกันอาการกำเริบของโรคภูมิแพ้ทางจมูกในเด็กวัยเรียนได้ร้อยละ 36.7 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 (R2 = .367)"
} |
{
"en": "In a district recreation activity of health promotion happily aging in Boleklong subdistrict Long district Phrae province, the participation of elderly in extended recreation and comparative of happy aging are studied and a program recreation activity of health promotion is developed. The research has a mixed methodology to perform qualitative research by focus group discussion and quantitative research by true experimental design, Pretest-Posttest control group design and analyzed by a Pair t-test and thematic analysis.\nResults: After participations of the elderly in program recreation activity of health promotion. Total participation average score were 4.05. The happiness of aging after participation to develop program recreation activity of health promotion is significant at .05. The program recreation activity of health promotion has 4 components 1) Handicrafts recreation was a hand-on activity with stretch finger and creating career of family and community 2) Matrix of nine squares training applied in five step dancing of Boleklong district including Saongam, Yokkhao, Sabadmee, Tumbit, Keangtawan 3) Songs and play folk music of Boleklong district, i.e. Joy song, Kaow song, Ramwongkongka song. 4) Story telling of Good health history, Culture, Traditions and Occupation.\nConclusion: Program recreation activity of health promotion aging of Boleklong district was developed by participation process and can be used as a model for other communities.",
"th": "งานวิจัยตำบลต้นแบบการพัฒนากิจกรรมนันทนาการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีความสุข ตำบลบ่อเหล็กลอง อำเภอ ลอง จังหวัดแพร่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมผู้สูงอายุร่วมกิจกรรมนันทนาการสร้างเสริมสุขภาพ โดยเปรียบเทียบความ สุขของผู้สูงอายุ และพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมนันทนาการสร้างเสริมสุขภาพ การวิจัยเป็นแบบผสมผสานวิธี ด้วยวิจัยเชิงคุณภาพใช้ การสนทนากลุ่ม และวิจัยเชิงปริมาณใช้การวิจัยเชิงทดลอง แบบแผนกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองวัดผลก่อนหลัง วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยทดสอบค่าที วิเคราะห์แก่นสาระ\nผลการวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุอยู่ในระดับมาก(ค่าเฉลี่ย 4.05) เปรียบเทียบความสุข หลังทดลอง กลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองมีความแตกต่างกันมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โปรแกรมกิจกรรมนันทนาการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 1) กิจกรรมนันทนาการหัตถกรรม เป็นการจักสานด้วยมือ บริหารกล้ามเนื้อมัดเล็ก ฝึกสมาธิ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ 2) กิจกรรม นันทนาการฟ้อนประยุกต์ 9 ช่องกับการฟ้อนพื้นบ้านบ่อเหล็กลอง 5 ท่า ได้แก่ ท่าฟ้อนสาวงาม ท่าฟ้อนยกเข่า ท่าฟ้อนสะบัดมือ ท่าฟ้อนตุ้มบิด ท่าฟ้อนเกิ้งตะวัน ช่วยการบริหารร่างกาย ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 3) กิจกรรมนันทนาการดนตรีและเพลงพื้นบ้านช่วย ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมตำบล ได้แก่ เพลงจ้อย เพลงค่าว เพลงซอ เพลงรำวงกองก้า เพลงเบาหวานกระทบไม้ ใช้ร้องประกอบการ ฟ้อน ช่วยให้จิตใจมีความสุข สุขภาพจิตดี 4) กิจกรรมนันทนาการเล่าขานวัฒนธรรม การเรื่องเล่าแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดูแลสุขภาพ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี อาชีพ"
} |
{
"en": "The purpose of this descriptive research is to evaluate the Bachelor of Nursing Science Curriculum (Revised, B.E. 2555) of the Royal Thai Army Nursing College in terms of context, input, process, and product, based on the CIPP Model. There are 376 participants in this study, including 51 administrators and teaching staffs, 240 nursing students, 35 teaching support personnel, and 50 professional nurses. The tools of the study were the questionnaires for assessment of the Bachelor of Nursing Curriculum in terms of context, input, process, and product. The content validity of the tools was evaluated by 5 experts which IOC > 0.5.\nFurthermore, descriptive statistics comprising of percentage calculation, arithmetic mean, and standard deviation were used to analyze the data. The research findings were: The philosophy of the curriculum was apparently consistent with the objectives of the curriculum. The objectives of the curriculum were paralleled with the social change and needs. The amount of credits of the curriculum structure was high. The amount of the credits of the teaching-learning arrangement in each subject of the curriculum, the teaching staffs’ competencies, and the sufficiency of the supporting factors were highly appropriate. The teaching-learning arrangement was evaluated at the highest level. Furthermore, the curriculum administration was evaluated at high level. The learning achievement of the second, third, and fourth year students were evaluated at moderate level. The opinions of the administrators and teaching staffs, the professional nurses, and the second, third, and fourth year nursing students themselves toward the nursing students’ personal characteristics were evaluated at high level. The results of this study could be a baseline information to improve and develop nursing curriculum.",
"th": "การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้ เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) ของวิทยาลัย พยาบาลกองทัพบก ตามแบบจำลอง CIPP โดยประเมินหลักสูตร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยป้อนเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารและอาจารย์พยาบาล 51 คน นักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2, 3 และ 4 จำนวน 240 คน บุคลากรฝ่ายสนับสนุน 35 คน และพยาบาลวิชาชีพ 50 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับหลักสูตรทั้ง 4 ด้าน ผ่านการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ทุกข้อคำถามมีค่า IOC มากกว่า 0.5 วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า\nปรัชญาของหลักสูตรสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตรทันกับการเปลี่ยนแปลงและความ ต้องการของสังคม โครงสร้างหลักสูตรมีจำนวนหน่วยกิตระดับมาก การจัดเนื้อหาสาระรายวิชา ความพร้อมของอาจารย์ และความ เพียงพอของปัจจัยสนับสนุนมีความเหมาะสมระดับมาก การจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสมระดับมากถึงมากที่สุด การบริหาร หลักสูตรมีความเหมาะสมระดับมาก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2, 3 และ 4 มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสะสม ระดับปานกลาง ความคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์พยาบาล พยาบาลวิชาชีพฯ และนักเรียนพยาบาลเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของผู้เรียนอยู่ในระดับมาก ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ต่อไป"
} |
{
"en": "Hepatitis B virus is a partially double-stranded DNA virus. Once it enters the body, it focuses on destroying liver cells. The hepatitis B virus contains an outer envelope and an inner core. The outer envelope is composed of a surface protein called the hepatitis B surface antigen or HBsAg (hepatitis B core antigen). The inner core of the virus is a protein shell referred to as the hepatitis B core, which contains the hepatitis B virus DNA and enzymes used in viral replication. Hitpatitis B is spread by percutaneous or mucosa exposure to infected blood and various body fluides, as well as through saliva. When pregnant women have hepatitis B virus, they are at risk to pass the virus to their fetuses as the transmission can happen during pregnancy, delivery, and postpartum period. Therefore, nurses who play an important role in caring of pregnant women should have knowledge and understanding about caring of pregnant women with hepatitits B carrier continually from delivery and after giving birth periods to prevent the spread of the virus in providing recommendation for taking care of themselves to promote their health, reduce severity of the disease, and reduce complications that probably happen to fetuses.",
"th": "พาหะไวรัสตับอักเสบ บี เกิดจากเชื้อไวรัสชนิด double-stranded DNA เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะทำลายเซลล์ตับ เชื้อ ไวรัสมีโครงสร้างเปลือกหุ้มเป็นไขมัน มีแกนกลางเป็นชั้นโปรตีน หุ้มด้วย double-stranded DNA ซึ่งอยู่ชั้นในสุด สาร DNA จะ เป็นตัวถอดรหัสสร้างโปรตีนที่อยู่บนเปลือกไวรัส เรียกว่า hepatitis B surface antigen พาหะไวรัสตับอักเสบ บี สามารถติดต่อ ทางเลือด น้ำลาย และสิ่งคัดหลั่ง เมื่อสตรีตั้งครรภ์ได้รับเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี จะมีภาวะเสี่ยงต่อการแพร่กระจายไปสู่ทารกในครรภ์ ซึ่งสามารถติดต่อได้ทั้งในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด ดังนั้นบทบาทของพยาบาลในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ จึง ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีพาหะของไวรัสตับอักเสบ บี อย่างต่อเนื่องตลอดระยะคลอด และหลังค ลอด เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ การให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ลดความรุนแรงของโรค และลด ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นต่อทารกในครรภ์"
} |
{
"en": "Approximately 50 percent of infants were diagnosed neonatal jaundice after birth, which phototherapy is an important method to reduce the bilirubin level. However, side effects of phototherapy, for example, baby bronze syndrome and childhood asthma could endanger those infants. Therefore, reducing the duration of phototherapy could be advantageous for them. Also, some researchers found applying Kangaroo Mother Care (KMC) in newborns receiving phototherapy could shorten the phototherapy period. The purpose of this study is to assess the available evidence comparing the duration of phototherapy when applying KMC in infants during receiving phototherapy. For this review, the Cochrane approach was used to report. The studies were retrieved from four databases: MEDLINE, EMBASE, CINAHL, and CENTRAL between 10 and 18 March 2018. The Cochrane Collaboration’s tool were applied to assess the risk of bias through all studies. Moreover, the meta-analysis was used for synthesizing the data. The results were two RCTs studies which a total of 322 infants were included in the analysis part. The finding found that applying KMC could reduce the duration pf phototherapy in infants with jaundice. n conclusion, even the finding shows the application of KMC can reduce the duration of phototherapy in infants with jaundice, the level of the evidence is very low because the high risk of bias of both papers. However, there is no disadvantages from applying KMC. Therefore, using KMC during receiving phototherapy is strongly recommended with the low quality of the evidence. Furthermore, rigorous RCTs studies with generate the high quality evidence for this article are required.",
"th": "เด็กทารกแรกเกิดร้อยละ 50 มีภาวะตัวเหลืองหลังเกิด ซึ่งการรักษาโดยการส่องไฟถือว่าเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด แต่ การส่องไฟมีผลข้างเคียงต่อทารกด้วยเช่นกัน เช่น บรอนซ์เบบี้ และโรคหอบหืดในเด็ก ดังนั้นหากลดระยะเวลาในการส่องไฟได้ ก็ จะช่วยลดความเสี่ยงต่าง ๆ ได้ ซึ่งมีนักวิจัยค้นพบว่าการใช้การแคงการูแคร์สามารถช่วยลดระยะเวลาในการรักษาโดยการส่องไฟได้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อที่จะประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เปรียบเทียบระยะเวลาในการส่องไฟเมื่อใช้แคงการูแคร์ควบคู่ กับการรักษาภาวะตัวเหลืองโดยการส่องไฟ งานวิจัยในบทความนี้ค้นคว้าจาก 4 ฐานข้อมูล ได้แก่ Medline, Embase, Cinahl, and Central ตั้งแต่ 10 – 18 มี.ค. 61 วิธีการของคอเครนจะถูกใช้ในการเขียนบทความนี้ แต่การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้การวิเคราะห์ อภิมาน ผลการวิจัยจากเด็กทารกแรกเกิด 322 คนที่นำมาวิเคราะห์ในรายงานฉบับนี้ พบว่าการใช้แคงการูแคร์ในเด็กที่มีภาวะตัว เหลืองในช่วงที่ต้องได้รับการส่องไฟช่วยลดระยะเวลาในการส่องไฟได้ แต่ระดับของงานวิจัยนั้นค่อนข้างต่ำจากอคติของการรายงาน ผลวิจัยที่อยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตามแคงการูแคร์นั้นไม่มีข้อเสียในการทำ จึงเป็นสิ่งที่ควรนำไปปฏิบัติอย่างยิ่ง และควรมีการวิจัยที่ จัดทำอย่างเข้มงวดและมีคุณภาพในหัวข้อน"
} |
{
"en": "Learning strategy in nursing education toward the development of the twenty-First century skills has objective is to propose guidelines for the development and adjustment of effective teaching and learning in nursing. This article presents the ACTIVE Model as follows: A (Atmosphere of Learning) C (Culture differences) T (Transformative learning) I (Information andtechnology) E (Empowerment) that lead to develop of competent nursing graduates according to the needs of the health system in the 21st century world.",
"th": "การจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอ แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้นักศึกษาพยาบาลสู่ ศตวรรษที่ 21 ซึ่งบทความนี้ได้เสนอACTIVE Modelดังนี้ A (Atmosphere of Learning: การสร้างบรรยากาศในการเรียน) C (Culture difference: การเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม) T (Transformative learning) การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง I (Information and technology) การได้รับข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ V (Verbal communication: การสื่อสารโดย การใช้ภาษาอังกฤษ) E (Empowerment: การเสริมสร้างพลังอำนาจ) เพื่อนำไปสู่การพัฒนาบัณฑิตพยาบาลที่มีสมรรถนะ ตามความต้องการของระบบสุขภาพในโลกศตวรรษที่ 21"
} |
{
"en": "Buddhist Monk illness nursing care follows the concept of Buddism is a huge of good krama and important thing to do that will affect to caregivers or nurses to have happiness similar to give the nursing care to the Budha. Nursing care following the dharma discipline(Tripitaka) is an important. Buddha’s teaching (Pratham) is the teaching of Budha. The dharma discipline (Tripitaka) was defined by the Buddha that composed of 3 types; Phra Winai Pitaka, Suttatapitaka, and Apithampitaka. Phra Winai pitaka is the Buddha’s teaching related with the discipline of the monks should do for advance celibacy. Suttatapika is the Buddha teaching related the Buddha concept that teach to people in many places. Apithampitaka is the Buddha teaching related the reality of Buddha’s concept following cause and effect of practice. Hence, the nursing care should start with accusation to the monks and say that I wish to care for your request anything from the nurses for necessary need of the monks. For nursing care the nurses should not directly touch to the body. The nurses will touch through the gloves. The problem of nurses in nursing care to the Buddhist monk illness is worry in Dharma discipline that lead to offense of the monks. So if the nurses have the knowledge of the Buddha’discipline they will give the appropriate nursing care for the monks. It will be benefit to the treatment and healing. Then occurring the nursing practice in caring the monk illness following dharma discipline of professional nurses.",
"th": "การพยาบาลพระอาพาธตามแนวคิดของชาวพุทธถือเป็นบุญใหญ่ เป็นการทำความดีที่สำคัญและทำให้ผู้ดูแลหรือพยาบาล ผู้ดูแลพระอาพาธจะเอิบอิ่มปลาบปลื้มใจเหมือนกับได้อุปฐาก องค์พระพุทธเจ้า การพยาบาลภายใต้พระธรรมวินัยจึงมีความสำคัญ พระธรรมคือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า พระธรรมวินัยถูกบัญญัติขึ้นโดยพระพุทธเจ้า ซึ่งมี 3 ปิฎก คือ พระวินัยปิฏก พระสุตตันต ปิฏก และ พระอภิธรรมปิฏก ซึ่งพระวินัยปิฏกคือคำสอนเกี่ยวกับระเบียบข้อประพฤติปฏิบัติ เพื่อพรหมจรรย์ขั้นสูงยิ่งขึ้น พระสุต ตันปิฏกคือคำสอนเกี่ยวกับหลักธรรม ที่ทรงเทศนาแก่บุคคลต่าง ๆ ณ สถานที่ต่างๆ ส่วนพระอภิธรรมปิฏกคือคำสอนเกี่ยวกับสภาพ ธรรมพร้อมทั้งเหตุ และผลของธรรมทั้งปวง\nดังนั้นการให้การพยาบาลต้องเริ่มจากการกล่าวปวารณาตัวต่อพระอาพาธเพื่อให้ท่านเอ่ยปากขอสิ่งของที่จำเป็นได้โดย กล่าวกับท่านโดยตรงว่าดิฉันขอปวารณาตัวต่อพระคุณเจ้าเพื่อให้ท่านเอ่ยปากขอสิ่งของที่จำเป็นได้ นอกจากนี้การไม่สัมผัสกับตัว ท่านโดยตรง ขณะให้การพยาบาลที่ผู้ให้เป็นหญิงควรใส่ถุงมือ เป็นต้น ปัญหาของการพยาบาลพระอาพาธคือพยาบาลผู้ให้การพยาบาล พระภิกษุอาพาธวิตกกังวลในการดูแลกลัวปฏิบัติไม่ถูกตามพระธรรมวินัยจะเกิดอาบัติ ดังนั้นหากพยาบาลมีความรู้ทางพระธรรม วินัยจะไดให้การพยาบาลได้อย่างสะดวกและสบายใจ ้ พระอาพาธก็อุ่นใจ เบาใจและทำให้เกิดความเข้าใจอันดีส่งผลให้เกิดการรักษา ของแพทย์ และเป็นการให้การพยาบาลอย่างเป็นวิชาชีพในการดูแลพระอาพาธตามพระธรรมวินัยต่อไป"
} |
{
"en": "The application of the Crystal-Based Instructional Model for the demonstration of basic nursing procedures in the course Basic Nursing, the Royal Thai Army Nursing College, encourages learners to ask questions and participate in the demonstration. As part of this model, mind mapping is employed to design learning about basic nursing procedures in the form of infographics. This aims to facilitate and reinforce learners’ understanding of basic nursing procedures and provide them with long-term memory about these procedures. In addition, this model addresses the issue of non-comprehensive learning associated with a large group of learners. It helps to stimulate learners’ eagerness to learn and encourages them to conduct research to ensure that their basic nursing procedures are of high quality and are safe for their patients as well as themselves. This model is in line with the principles and practices of 21st century knowledge management, which focus on the development of cognitive skills, especially analytical thinking, synthesis, and problem-solving skills. It allows learners to create methods of creating knowledge about basic nursing procedures, improve their skills related to carrying out the procedures, and apply the experience gained from the demonstration in other different situations.",
"th": "การนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบตกผลึกไปประยุกต์ใช้กับการสอนสาธิตหัตถการการพยาบาลพื้นฐาน ในรายวิชา วทฉพ 202 การพยาบาลพื้นฐาน วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ตั้งคำถาม และมีส่วนร่วมในการสาธิตขั้นตอน ปฏิบัติหัตถการการพยาบาลพื้นฐาน โดยใช้วิธีการสร้างผลงานจากการตกผลึกทางความคิดให้อยู่ในแผนภาพมโนทัศน์ มาออกแบบ การเรียนรู้การสาธิตขั้นตอนปฏิบัติหัตถการการพยาบาลพื้นฐานในรูปแบบสื่อแบบอินโฟกราฟิกส์ เพื่อให้ผู้เรียนง่ายต่อการทำความ เข้าใจขั้นตอนปฏิบัติทักษะหัตถการพยาบาล เข้าใจจดจำสิ่งที่เรียนได้ดีและยาวนาน และแก้ปัญหาจำนวนผู้เรียนที่มีจำนวนมากที่ ไม่สามารถเรียนรู้การปฏิบัติหัตถการการพยาบาลพื้นฐานได้อย่างทั่วถึง นอกจากนั้นการสอนสาธิตโดยวิธีการสร้างผลงานจากการ ตกผลึกนั้นช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจใฝ่รู้ ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองเพื่อให้การปฏิบัติหัตถการการพยาบาลนั้นมีคุณภาพ และปลอดภัยกับผู้ป่วยและตนเอง และสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะการคิด โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ รวมถึงคิดแก้ปัญหา และสร้างสรรค์วิธีการสร้างความรู้ และการฝึกทักษะปฏิบัติหัตถการพยาบาล พื้นฐานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น รวมถึงสามารถนำประสบการณ์จากการฝึกสาธิตย้อนไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ต่างๆ ได้"
} |
{
"en": "Health behavior refers to individuals’ performances that affect all aspects of their health. The effects can be either positive effects or negative effects.This article aims to present methods to enhance people’s health behaviors based on local wisdoms. Results found that health behaviors based on local wisdoms each region yielded the following : Per food consumptions, consume local vegetables and fruits were rich in vitamins , minerals and herbal benefits. For the exercise, apply local dances, occupational gestures, and materials in local area to design proper exercises. Lastly, coping behavior, use folk music and performances including religious teachings for emotional control or relaxation. Health behaviors enhancing based on local wisdoms include health education, training program, integration of learning content to increase awareness of the value of local wisdoms and applied appropriately for health benefits.",
"th": "พฤติกรรมสุขภาพ เป็นการปฏิบัติตนของบุคคลที่มีผลต่อสุขภาพทั้งที่เป็นผลดีต่อสุขภาพ หรือผลเสียต่อสุขภาพ บทความ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพตามภูมิปัญญาท้องถิ่นของบุคคล ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรม สุขภาพตามภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนในแต่ละภูมิภาคด้านการบริโภคอาหาร ได้แก่การรับประทานอาหาร ประเภทผัก ผลไม้พื้นบ้าน ที่อุดมด้วยวิตามิน เกลือแร่และประโยชน์เชิงสมุนไพร ด้านการออกกำลังกาย ได้แก่การคิดค้นรูปแบบการออกกำลังกายจากท่ารำ ประจำถิ่น ลักษณะท่าทางในการประกอบอาชีพ ดัดแปลง ประยุกต์วัสดุ อุปกรณ์ในท้องถิ่นมาใช้ประกอบการออกกำลังกาย และ ด้านการจัดการกับความตึงเครียดทางอารมณ์ ได้แก่การใช้ดนตรี ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน หรือหลักธรรมคำสอน แนวปฏิบัติตนของ ศาสนามาประยุกต์สำหรับการควบคุมอารมณ์ หรือผ่อนคลายความเครียด แนวทางการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพตามภูมิปัญญาท้อง ถิ่น ประกอบด้วยการสอน ให้ความรู้ทางสุขภาพ จัดโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การบูรณาการในเนื้อหา ของการเรียนเพื่อปลูกฝังให้บุคคลเกิดความตระหนักในคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่นและประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ทางสุขภาพอย่าง เหมาะสม"
} |
{
"en": "At present, Thai society has already entered the elderly society. Which the Thai society becomes an aging society will inevitably affect the social and economic structure of the country due to decreasing working-age population and increasing elderly population. Causing the budget of the country to be allocated for elderly care because the elderly are the age where the physical health deteriorates. If Thai society wants to reduce the burden on elderly health care to save budget. It is necessary that the relevant government agencies must encourage the elderly in Thai society to become more aware of health literacy so that at least they can take care of themselves initially. The lifelong learning process for the elderly has therefore played an important role in campaigning for the elderly to have continuous learning on related matters for life. Especially about health, which is the most important problem for the elderly in Thai society. In this article, the author introduced concepts related to lifelong learning for the elderly with a focus on health literacy which is an important concept in helping older people to take care of their health at the initial level.",
"th": "ในปัจจุบันสังคมไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุซึ่งการที่สังคมไทยกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุจะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทางสังคม และเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากจะมีประชากรวัยทำงานลดลงและประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น ทำให้งบประมาณส่วนหนึ่งของ ประเทศจะต้องถูกจัดสรรมาเพื่อใช้ในการดูแลผู้สูงอายุ รวมทั้งผู้สูงอายุเป็นวัยที่สุขภาพร่างกายเสื่อมถอย หากสังคมไทยต้องการลด ภาระด้านงบประมาณลง หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องต้องส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในสังคมไทยได้เริ่มตระหนักถึงการเรียนรู้ด้านสุขภาพ มากขึ้นให้ดูแลตัวเองในเบื้องต้นได้อย่างเหมาะสม กระบวนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับผู้สูงอายุจึงมีความสำคัญในการรณรงค์ ให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในเรื่องที่เกี่ยวข้องสำหรับการดำรงชีวิต โดยเฉพาะเรื่องสุขภาพซึ่งสิ่งสำคัญที่สุด สำหรับผู้สูงอายุในสังคมไทย ในบทความนี้ผู้เขียนได้นำแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะ เรื่องความรอบรู้ทางสุขภาพซึ่งเป็นแนวคิดสำคัญในการช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ในระดับเบื้องต้น"
} |
{
"en": "Complications in the elderly after spinal surgery are common due to deteriorating health conditions and function of the body decline from use for a long time. The elderly is the greater risk for physical and mental problems. The purposes of this article were display nursing care in dimension of healthcare for safety caring in the elderly who underwent lumbar spinal surgery to reduce postoperative complications. Theoretical concepts related to factors affect common postoperative complications in the elderly. Nursing diagnosis for the elderly after lumbar spine surgery were display in case study model. Effective nursing care were display to cover physical, mental, emotional, and social.",
"th": "ภาวะแทรกซ้อนในผู้สูงอายุภายหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลังพบได้บ่อยจากภาวะสุขภาพที่ทรุดโทรม การทำหน้าที่ของ อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายลดลงจากการใช้งานมาเป็นเวลานาน ทำให้ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทั้งร่างกายและจิตใจ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเรื่องความปลอดภัยในการดูแลผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวในมิติด้านการ รักษาพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ซึ่งมีแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ สูงอายุ ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยและการวางแผนฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยภายหลังการผ่าตัด ในรูปแบบกรณีศึกษาและข้อวินิจฉัยการ พยาบาล เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังอย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักการพยาบาลผู้ป่วยให้ครอบคลุมทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม"
} |
{
"en": "The health promotion is crucial for prevention and control blood pressure in person with hypertension for decreasing dangerous life complication. The important health promotion role of nurse has health education demonstration and training skills for changing health behavior. The storytelling in group of hypertensive patients helps member for exchanging experience, increasing motivation, understanding change behaviors. Moreover, it help the problem solving, help together lead to conduct new knowledge and can implicate, build confidence, and change lifestyle in order to control blood pressure and good quality of life.",
"th": "การส่งเสริมสุขภาพเป็นสิ่งจำเป็นในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ดังนั้นการ ส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูงเป็นสิ่งสำคัญ โดยพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพโดยมีการ ให้ความรู้ การสาธิตและการฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการเล่าเรื่องในกลุ่มผู้ป่วยจะทำให้มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้จากประสบการณ์ของสมาชิก จะช่วยสร้างแรงจูงใจและความเข้าใจการปฏิบัติพฤติกรรม จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถค้นพบวิธี แก้ปัญหาร่วมกันและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แล้วนำความรู้ใหม่มาประยุกต์ใช้จนสามารถปฏิบัติได้จริง ทำให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจ และมีการปรับเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จนทำให้สามารถควบคุมความดันโลหิตสูงได้และมีคุณภาพ ชีวิตที่ด"
} |
{
"en": "This article aims to present the importance of the corruption which is a moral crisis and a global problem that every country pays attention to. It can occur in the Ministry, hospitals and healthcare sectors. Nurses, the largest group in 12 professional fields, are the moral representatives who have professional ethics and many networks both domestically and internationally. There are professional organizations to monitor the operation of nurses. Nurses operate under relevant laws. Therefore, nurses should act as advocacy or whistleblowers. Whistle-blowing is considered as prosocial behaviors which are different from other good behaviors because nurses must be ethically courageous. The whistle-blowers may be in danger of the profession, physical, emotional, personal life, and family. This article will give knowledge about corruption and whistle-blowing and suggest guidelines for promoting whistle-blowing of professional nurses in healthcare sectors.",
"th": "บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความสำคัญของการทุจริตที่เป็นวิกฤติทางศีลธรรมและเป็นปัญหาระดับโลกที่ทุก ประเทศให้ความสำคัญ โดยการทุจริตในระบบสุขภาพเกิดขึ้นได้ตั้งแต่ระดับกระทรวง โรงพยาบาล และหน่วยบริการสุขภาพ พยาบาล วิชาชีพเป็นหนึ่งในตัวแทนทางศีลธรรมของระบบสุขภาพ เพราะมีจำนวนมากที่สุดใน 12 สาขาวิชาชีพและเป็นผู้ที่มีจรรยาบรรณ วิชาชีพ มีเครือข่ายทั้งภายในและต่างประเทศ มีองค์กรวิชาชีพคอยตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ และต้องปฏิบัติการพยาบาลภายใต้ ของเขตของวิชาชีพพยาบาลตามที่กฎหมายกำหนด ดังนั้นพยาบาลวิชาชีพจึงควรทำหน้าที่เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ์และผู้แจ้งเบาะแสการ ทุจริตในหน่วยบริการสุขภาพ เพราะการแจ้งเบาะแสถือเป็นพฤติกรรมของคนดีช่วยเหลือผู้อื่น ซึ่งแตกต่างจากพฤติกรรมคนดีแบบ อื่น โดยต้องมีความกล้าหาญทางจริยธรรม เนื่องจากการแจ้งเบาะแสอาจนำอันตรายมาสู่ผู้แจ้งเบาะแสทั้งต่อวิชาชีพ ร่างกาย อารมณ์ ชีวิตส่วนตัว และครอบครัว ดังนั้น บทความนี้จะให้ความรู้เกี่ยวกับการทุจริตและการแจ้งเบาะแส และเสนอแนวทางการส่งเสริม พฤติกรรมการแจ้งเบาะแสสำหรับพยาบาลวิชาชีพในหน่วยบริการสุขภาพ"
} |
{
"en": "According to the literatures, a repeat adolescent pregnancy is defined as a ‘teenage mother who becomes pregnant again while still an adolescent’ which is under 20 years old. Additionally, it also can be seen in various studies that a Rapid Repeat Pregnancy (RRP) can be categorized into a Repeat Pregnancy (RP), which means ‘pregnancy onset within 24 months of the previous pregnancy outcome’. This academic paper outlines what is currently known about the the risk factors and the Impacts of repeat pregnancy on maternal and child’s health amongst repeated adolescent mothers. This study will provide a descriptive of the risk factors and maternal and child’s health outcomes of repeat pregnancy among adolescent mothers which may contribute to improving the understanding of healthcare providers and may lead to developing appropriate intervention and support policies that attend to the needs of young mothers and more concern for their health.",
"th": "จากการทบทวนวรรณกรรม การตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่นหมายถึง มารดาวัยรุ่นที่มีการตั้งครรภ์อีกครั้งหลังจากการตั้ง ครรภ์ครั้งก่อน ไม่มีเกณฑ์การเว้นระยะการตั้งครรภ์ครั้งก่อนเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่จะรวมมารดามีอายุน้อยกว่า 20 ปี และยังสามารถ แบ่งเป็น การตั้งครรภ์ซ้ำเร็วในมารดาวัยรุ่น หมายถึงมารดาวัยรุ่นที่มีการตั้งครรภ์อีกครั้งหลังจากการตั้งครรภ์ครั้งก่อน ภายใน 24 เดือน โดยที่มารดามีอายุน้อยกว่า 20 ปี จะเห็นได้ว่า การตั้งครรภ์ซ้ำเร็วในมารดาวัยรุ่น จะเป็นกลุ่มย่อยของ การตั้งครรภ์ซ้ำใน มารดาวัยรุ่น โดยเน้นที่ระยะห่างของการตั้งครรภ์ครั้งก่อนและครั้งปัจจุบัน ไม่เกิน 24 เดือน บทความวิชาการฉบับนี้ เป็นการนำ เสนอข้อค้นพบจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่น เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน ปัจจัยเสี่ยง และผลกระทบ ด้านสุขภาพของมารดาและทารก ในมารดาวัยรุ่นที่มีการตั้งครรภ์และคลอดครั้งที่สองขึ้นไป เพื่อพัฒนาความเข้าใจของผู้ดูแลสุขภาพ มารดาวัยรุ่น ที่ช่วยให้นำไปสู่การพัฒนารูปแบบการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะกับความต้องการของมารดาวัยรุ่น และการคำนึงถึงสุขภาพ ของมารดาและทารก"
} |
{
"en": "The present study was a randomized controlled trial whose objective was to study the effects of education and inhaler skills program through line application on symptom control among asthmatic patient. The sample comprised 64 asthmatic patients who sought treatment at the outpatient examination room in a tertiary hospital, Bangkok. Block random assignment was used to assign the sample into the experimental group (N=32) and the control group (N=32). The control group received the regular nursing care and the handbook for asthmatic patient. The experimental group received the education and inhaler skills program through line application developed based on IMB model. There was a 6-week trial period. Data were analyzed by Independent t-test.\nThe results showed that the experimental group and the control group were female, 81.3% and 68.8%, respectively. The experimental group had the average age of 59.47 years (SD = 9.87), and the control group, the average age of 58.13 years (SD = 12.65). It was found that before the experiment, the experiment group and the control group were not significantly different; in fact, the mean asthma control scores of the experimental group before and after the program were 3.56 (SD = .76) and .56 (SD = .62), respectively, and those of the control group were 3.13 (SD = .55) and 1.50 (SD = .76), respectively. After the experiment, the level of asthma control in asthmatic patients in the experimental group was higher than that in the control group at a statistical significant level of p < .001\nRecommendations were that nurses use the education and inhaler skills program through line application to provide disease knowledge, develop inhaler skills with information, feedback and two-way communication to increase the effectiveness of symptom control in asthmatic patients",
"th": "งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ความรู้และทักษะการ ใช้ยาสูดโดยใช้แอปพลิเคชันไลน์ต่อการควบคุมอาการในผู้ป่วยโรคหืด อายุ 18 ปีขึ้นไป กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหืดที่มารับการ ตรวจที่ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 64 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่ม ทดลองด้วยการสุ่มแบบบล็อก กลุ่มละ 32 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติและได้รับคู่มือสำหรับผู้ป่วยโรคหืด กลุ่ม ทดลองได้รับโปรแกรมการให้ความรู้และทักษะการใช้ยาสูดโดยใช้แอปพลิเคชันไลน์ ซึ่งพัฒนาขึ้นจากกรอบแนวคิด IMB model ระยะเวลาในการทดลอง 6 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Independent t-test\nผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมเป็นเพศหญิง ร้อยละ 81.3 และร้อยละ 68.8 ตามลำดับ ด้านอายุพบว่า กลุ่มทดลองอายุเฉลี่ย 59.47 ปี (SD = 9.87) กลุ่มควบคุมอายุเฉลี่ย 58.13 ปี (SD = 12.65) ก่อนการทดลองกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุมมีการควบคุมอาการโรคหืดไม่แตกต่างกัน ค่าเฉลี่ยการควบคุมอาการโรคหืดก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลองเท่ากับ 3.56 (SD = .76) และ .56 (SD = .62) ตามลำดับ กลุ่มควบคุมเท่ากับ 3.13 (SD = .55) และ 1.50 (SD = .76) ตามลำดับ โดยพบ ว่าหลังการทดลอง ผู้ป่วยโรคหืดกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการให้ความรู้และทักษะการใช้ยาสูดโดยใช้แอปพลิเคชันไลน์มีการควบคุมโรค หืดดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลปกติ อย่างมีนัยสำคัญ (P < .001)\nข้อเสนอแนะ พยาบาลควรใช้โปรแกรมการให้ความรู้และทักษะการใช้ยาสูดโดยใช้แอปพลิเคชันไลน์ในการให้ความรู้เรื่อง โรค พัฒนาทักษะในการใช้ยาสูด โดยมีการให้ข้อมูลป้อนกลับและติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการการควบคุม อาการในผู้ป่วยโรคหืด"
} |
{
"en": "The purpose of this study was to develop nursing curriculum to promote healthcare self-management of patients and their caregivers. The process for conducting this study, based on adult learning concepts and Tyler’s curriculum development, consisted of 3 phases: 1) Situation analysis; 2) Curriculum development; and 3) Curriculum implementation and modification. The sample composed of 70 nurses from Ministry of Public Health hospitals. The research instruments included assessment of curriculum structure, knowledge assessment form and questionnaire of satisfaction towards training program. The research tools were tested for content validity by 5 experts. The KR – 20 reliability test for knowledge testing was 0.75 and satisfaction evaluation form which the Cronbach’s alpha coefficient was 0.86. Data were analyzed using mean, standard deviation and t-test.\nThe result revealed that the curriculum consisted of 6 modules. Course performance was rated as the most suitable aspect yielding the consistency index of 1.00. Evaluation of curriculum implementation found that the mean score on knowledge of the nurses after received training was higher than before received training with statistical significance (p < 0.01). The nurses were also satisfied with the curriculum at a high level. It was implied that the course was quite suitable and reliable to apply in the setting. Therefore, the Ministry of Public Health should encourage the nurses attending this course to promote healthcare self-management in patients and caregivers.",
"th": "การวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรการพยาบาลเพื่อส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วยและ ผู้ดูแล ดำเนินการวิจัย 3 ระยะ 1) ศึกษาสถานการณ์ 2) พัฒนาหลักสูตร 3) ทดลองใช้และปรับแก้ไขหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างเป็น พยาบาลของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 70 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมินโครงร่าง หลักสูตรฯ แบบทดสอบความรู้ และแบบสอบถามความพึงพอใจในการฝึกอบรมหลักสูตรฯ เครื่องมือทั้ง 3 ชุด ผ่านการตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน และหาค่าความเชื่อมั่น ของแบบทดสอบความรู้ด้วย KR – 20 ได้ 0.75 และแบบสอบถาม ความพึงพอใจ ด้วยสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ 0.86 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบค่าที\nผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรฯ ประกอบด้วย 6 โมดูล หลักสูตรฯ มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด และค่าดัชนีความ สอดคล้อง = 1.00 ประเมินการนำหลักสูตรไปใช้ พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ของพยาบาลหลังอบรมเพิ่มขึ้นกว่าก่อนอบรมอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และพยาบาลมีความพึงพอใจในระดับมาก แสดงว่าหลักสูตรฯ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกัน ดังนั้นกระทรวงสาธารณสุขควรส่งเสริมให้พยาบาลที่ปฏิบัติงานของกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อประโยชน์ ต่อการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วยและผู้ดูแล"
} |
{
"en": "The research aimed to study self-regulation of nursing students and develop a model for self-regulation of pre-service skills training in Practicum in Family Nursing and Midwifery I among nursing students in Srisavarindhira Thai Red Cross Institute of Nursing. The sample was 145 third-year nursing students who registered for Practicum in Family Nursing and Midwifery I in the academic year 2017. The record form, questionnaires, and conducting focus group interview of 10 participants were used to collect data. Descriptive statistics and content analysis were used to analyze the data.\nThe result revealed that self-regulation in practicing nursing skills prior to study Practicum in Family Nursing and Midwifery I was at a high level in overall. The three aspects of self-regulation include selfobservation, self-reaction, and self- judgment and self-reaction were at a high level in overall and each item. The self-regulation method used to succeed in practical skills training consists of 3 aspects as mentioned. Students need more additional teaching and learning activities to help develop their self-regulation as follow; 1) measurement and evaluation 2) step-by-step training system 3) media, materials and equipment 4) time availability 5) peer group\nTo sum up, Applying theory to develop self- regulation model in practical skills training consisting of 3 stages: 1) preparation stage 2) self- regulation development stage for practice nursing skills and 3) evaluation stage",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาการกำกับตนเองของนักศึกษาพยาบาลและสร้างรูปแบบการพัฒนาการกำกับ ตนเองในการฝึกทักษะปฏิบัติก่อนการเรียนรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์ 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษา พยาบาลชั้นปีที่ 3 สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและ การผดุงครรภ์ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 145 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึก แบบสอบถามและการสนทนากลุ่มจาก กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 10 คนวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า\nการกำกับตนเองของนักศึกษาพยาบาล โดยรวมและรายด้าน คือ ด้านการสังเกตตนเอง ด้านการตัดสินตนเอง และด้าน การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง อยู่ในระดับมาก วิธีการกำกับตนเองของนักศึกษาที่ทำให้ประสบความสำเร็จในการฝึกทักษะปฏิบัติฯ ประกอบด้วย 3 ด้านเช่นกัน ความต้องการให้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพิ่มเติมเพื่อช่วยให้เกิดการพัฒนาการกำกับตนเองที่ดี ยิ่งขึ้น ดังนี้ 1) การวัดและประเมินผล 2) ระบบการฝึกทักษะอย่างเป็นขั้นตอน 3) สื่อวัสดุ อุปกรณ์ ครบถ้วน 4) จัดเวลาให้เอื้อต่อ การฝึก 5) กลุ่มเพื่อน\nจากผลการวิจัยครั้งนี้ ร่วมกับการนำแนวคิดทฤษฎีมาประยุกต์ใช้สร้างรูปแบบการพัฒนาการกำกับตนเองในการฝึกทักษะ ปฏิบัติฯ ประกอบด้วย 3 ขั้น คือ 1) ขั้นเตรียม 2) ขั้นพัฒนาการกำกับตนเองในการฝึกทักษะปฏิบัติ และ 3) ขั้นประเมินผล"
} |
{
"en": "This research was phenomenologically designed. The objective was to study nursing students’ perceptions and experiences regarding active learning. Semi-structured interviews were conducted with 15 first-year nursing students studying in Boromarajonani College of Nursing, Changwat Nonthaburi, Academic Year 2018. Purposive sampling was used to select the participants. Data were analyzed following principles of Giorgi’s phenomenological method.\nThe results of the study found that four core themes related to active learning emerged. There were: 1. active learning’ experience including 4 subthemes addressed passion of learning; teamwork; critical thinking; and participation between students and instructors, 2. Perceptions toward active learning method consisting of 3 subthemes addressed game-based learning; debated; and project-based learning, 3. benefits of active learning containing 4 subthemes included developing of critical thinking; increasing self-confidence; acknowledge of teamwork ;and inspiring of leaning, 4. barriers of active learning including 2 subthemes consisted of imbalance of workpiece with time; and instructors problems. The results of the research suggested that the nursing college promote active learning in several courses where learning activities were applied based on the agreement of the number of such activities and their corresponding required periods of time.",
"th": "การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และประสบการณ์ของ นักศึกษาพยาบาลเกี่ยวกับการเรียนการสอนเชิงรุก เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเป็นรายบุคคลกับนักศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี ปีการศึกษา 2561 จำนวน 15 คน ใช้วิธี เลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีของ Giorgi\nผลการวิจัยพบว่า สาระสำคัญของการเรียนการสอนเชิงรุก มี 4 ประเด็นหลัก คือ 1. ประสบการณ์ของการเรียนการสอน เชิงรุก ประกอบด้วย 4 ประเด็นย่อย ได้แก่ ความกระตือรือร้นในการเรียน การทำงานเป็นทีม การคิดอย่างเป็นระบบ และการมีส่วน ร่วมระหว่างผู้เรียนและผู้สอน 2. การรับรู้ต่อรูปแบบการเรียนการสอนเชิงรุก ประกอบด้วย 3 ประเด็นย่อย ได้แก่ การเรียนแบบใช้ เกมส์ การโต้วาที และการเรียนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน 3. ประโยชน์ของการเรียนการสอนเชิงรุก ประกอบด้วย 4 ประเด็นย่อย ได้แก่ พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ เพิ่มความมั่นใจในตนเอง รู้จักการทำงานเป็นทีม และกระตุ้นความอยากเรียนรู้ และ 4. ปัญหา และอุปสรรคของการเรียนการสอนเชิงรุก ประกอบด้วย 2 ประเด็นย่อย ได้แก่ ความไม่สมดุลระหว่างชิ้นงานกับเวลา และปัญหา จากผู้สอน จากผลการวิจัย สถาบันการศึกษาควรส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนเชิงรุกในรายวิชาต่างๆ โดยจัดกิจกรรมการเรียน รู้ที่คำนึงถึงความเหมาะสมระหว่างจำนวนกิจกรรมกับระยะเวลา"
} |
{
"en": "This study aimed to evaluate program of nursing specialty in neonatal critical care nurse practitioner. The researcher focused on evaluating context, input, process, product, and impact. The participants were 75 graduates of the program in neonatal critical care nurse practitioner batch 1-3, and 20 head nurses or colleagues of neonatal critical care nurse practitioner. Two validated questionnaires and semi-structure interview were used for data collection. They were validated by 3 experts with the reliability of Cronbach’s Alpha coefficient 0.89. The data were analyzed by using descriptive statistics and content analysis.\nThe results revealed that the graduates’ batch 1 and 3 evaluated the input, process, and product of the nursing specialty in neonatal critical care nurse practitioner being appropriated at the high level ( = 4.40, SD = .622; = 4.27, SD = .701; = 4.01, SD = .595 and = 4.22, SD = .567 respectively). However, the graduates’ batch 2 evaluated the context and product at the highest level. The overall mean scores of perceptions about neonatal critical care nurse practitioner competencies were at a high level ( = 3.15, SD = .472). Considering in each dimension, the result of the study showed that the highest mean score was the technology, innovation and research ( = 3.35, SD = .508). However, head nurses or colleagues of neonatal critical care nurse practitioner evaluated neonatal critical care nurse practitioner competencies were at a highest level (= 3.51, SD = .376). The technology, innovation and research dimension was the highest mean score ( = 3.56, SD = .417).\nThe overall program evaluation was in high level. However, the participants suggested about provide more details via website, adding topic calculate calories and should test immunity before going to practicum and practice setting respirator skill. The course manager should take the evaluation results into account for proper improvement.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาสาขาเวชปฏิบัติวิกฤตทารกแรกเกิด ใน ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการอบรม ผลผลิต และผลกระทบของหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างเป็นผ่านการอบรมในหลักสูตรการ พยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติวิกฤตทารกแรกเกิดรุ่นที่ 1 -3 จำนวน 75 คน และผู้บังคับบัญชาหรือเพื่อนร่วมงานโดยตรงของ ผู้ผ่านการอบรมไปแล้ว 6 เดือน จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่ผู้วิจัยสร้าง ขึ้น ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและมีค่าความเชื่อมั่น 0.89 ข้อมูลเชิงปริมาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา\nผลการวิจัยพบว่า ผู้ผ่านการอบรมรุ่นที่ 1 และรุ่นที่ 3 ประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และ ด้านผลผลิตมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 4.40, SD = .622; = 4.27, SD = .701; = 4.01, SD = .595 และ =4.22, SD = .567 ตามลำดับ) ความคิดเห็นของผู้ผ่านการอบรมรุ่นที่ 2 มีความคิดเห็นด้านบริบท ด้านผลผลิตมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.56, SD = .512 และ = 4.55, SD = .499 ตามลำดับ) ความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลทารกแรก เกิดภาวะวิกฤตโดยภาพรวมและรายด้านของผู้ผ่านการอบรมอยู่ในระดับมาก ( = 3.15, SD = .472) โดยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรมและการวิจัยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( = 3.35, SD = .508) เพื่อนร่วมงานหรือผู้บังคับบัญชามีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะ การปฏิบัติการพยาบาลทารกแรกเกิดภาวะวิกฤตของผู้ผ่านการอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 3.51, SD = .376)) โดยด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ นวัตกรรมและการวิจัยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( = 3.56, SD = .417)\nการประเมินหลักสูตรโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี แต่อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะเกี่ยวกับ การประชาสัมพันธ์ หลักสูตรให้มีรายละเอียดเพิ่มขึ้นในเวบไชด์ การเรียนภาคทฤษฏีเพิ่มเติมเนื้อหาเกี่ยวกับ การคำนวณ สารอาหาร, การคำนวณแคลอรี่ ภาคปฏิบัติควรมีการตรวจเลือดเพื่อหาภูมิคุ้มกันก่อนการฝึกปฏิบัติงาน และมีการฝึกปฏิบัติการตั้งเครื่องช่วยหายใจให้มีความชำนาญ ก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ดังนั้นผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้หลักสูตรสอดคล้องกับความ ต้องการของผู้เข้ารับการอบรมซึ่งจะทำให้มีสมรรถนะและความสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ"
} |
{
"en": "Accessibility to primary care services in urban areas remained an important public health problem in Thailand. Main factor contributing to this problem was fast growing urbanization, resulting in inadequate infrastructure and public services. This study aimed to systematically review research studies and projects relating to provision of primary care services in urban areas which successfully increased people’s accessibility; to analyze promoting methods used in these studies and projects; and to make recommendations on improving urban primary care service systems in Thailand. Nine officially evaluated research articles and projects in both developed and developing countries, published during 2005 – 2018 were included in the study. Systematic review and narrative analysis were used for data analysis. The results revealed five classified diverse methods used to increase the accessibility and utilization of primary care services in the urban areas; these were facilitating the accessibility, motivating the utilization, promoting methods, reducing needs for treatment, and quality control and cost containment. The most important element that was an integral part of all methods was the participation of all sectors: public, private, NGOs, community, and family, and at all levels. It was found that the methods used in these studies depended on social, cultural and political contexts and the levels of economic and education advancement of each area.",
"th": "การเข้าถึงบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตเมืองเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย ซึ่งเป็นผลจากการขยายตัวอย่าง รวดเร็วของเขตเมือง ทำให้โครงสร้างพื้นฐานและบริการต่าง ๆ ไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อทบทวนเอกสาร งานวิจัยและโครงการ การจัดระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตเมืองที่สามารถเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการ อย่างเป็นระบบ วิเคราะห์วิธีการที่ใช้ในการส่งเสริมการเข้าถึงและการใช้บริการ และเสนอข้อคิดเห็นแนวทางการพัฒนาระบบบริการ ปฐมภูมิในเขตเมืองของประเทศไทย เอกสารที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วยโครงการ งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ ที่มีการประเมิน ผลเป็นรูปธรรมและมีการเผยแพร่ระหว่างปี 2005 – 2018 จำนวน 9 โครงการ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงบรรยาย และการจัดกลุ่ม ผลการวิเคราะห์พบว่า วิธีการส่งเสริมการเข้าถึงและใช้บริการปฐมภูมิมีความหลากหลายแต่สามารถจัดเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ 1) การเอื้อการเข้าถึงบริการ 2) การสร้างแรงจูงใจในการใช้บริการ 3) การส่งเสริมการใช้บริการ 4) การลดความจำเป็นในการ รักษาพยาบาล 5) การควบคุมคุณภาพและการใช้ทรัพยากร องค์ประกอบสำคัญของแต่ละวิธีการคือการทำงานแบบเครือข่ายโดย การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และทุกระดับ ความหลากหลายของวิธีการเหล่านี้ ขึ้นอยู่กับบริบททางด้านสังคม วัฒนธรรม การเมือง และระดับการพัฒนาทางด้าน เศรษฐกิจและการศึกษาของแต่ละพื้นที่"
} |
{
"en": "This curriculum evaluation research uses a mixed method design through quantitative and qualitative data. The main purpose is to study the effectiveness of the specialized nursing program in organs donation and transplantation, class 1, at Boromarajonani College of Nursing, Nopparat Vajira. This study collects data from all populations, in total 133 people, including with 1) Graduates of the specialized nursing program in organs donation and organ transplantation, 2) Graduates’ supervisors 3) Graduates’ colleagues, and 4) Graduates’ instructors. The instruments are 1) the questionnaire evaluating the competencies of the graduates finishing this specialized nursing program including 5 rating scale, and 2) interviewing questionnaire of qualitative data collecting data from the instructors.\nThe results show that 97.56 percent of the graduates report a high level score of specialty instructors in conducting the course and 95.12 percent report a high level score of classroom management. For the process evaluation, the course follows curriculum administration including curriculum opening, implementing, and improving. The evaluation of the effectiveness of the program in organs donation and organ transplantation reveals. The participants evaluate all competencies at high level. Their colleagues evaluate all competencies at the highest level. The graduates evaluate the highest mean scores of the ethical competency 4.64 (SD = 0.52) and professional nursing competency 4.61 (SD = 0.46). However, the perceptions of competencies among the participants, supervisors, and colleagues are different with statistical significant, p = 0.004.",
"th": "การวิจัยประเมินผลหลักสูตรเป็นแบบผสมผสาน (Mixed method design) ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษา ประสิทธิผลของหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการบริจาคอวัยวะและปลูกถ่ายอวัยวะ รุ่นที่ 1 จากวิทยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี นพรัตน์วชิระ ประชากร คือ 1) ผู้สำเร็จการอบรม 2) ผู้บังคับบัญชา 3) เพื่อนร่วมงาน และ 4) อาจารย์ผู้สอน จำนวน 133 คน เก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู้ประสิทธิผลของผู้ที่ได้รับการอบรม หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการบริจาคอวัยวะและปลูกถ่ายอวัยวะ 2) แบบสัมภาษณ์ผู้ผ่านการอบรม ผู้บังคับบัญชา เพื่อน ร่วมงาน และอาจารย์ผู้สอน\nผลการวิจัยพบว่า ผู้สำเร็จการอบรมร้อยละ 97.56 มีความคิดเห็นในระดับดีขึ้นไปต่อการจัดหลักสูตรว่า ผู้สอนมีความ เชี่ยวชาญมีความเป็นมืออาชีพในการจัดอบรม ผู้สำเร็จการอบรมร้อยละ 95.12 มีความคิดเห็นในระดับดีขึ้นไปต่อการบริหารจัดการ ห้องเรียน สำหรับการประเมินกระบวนการพบว่า มีการบริหารหลักสูตร ตามขั้นตอนการเปิดหลักสูตร การดำเนินการใช้หลักสูตร และการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร การประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรพบว่า ผลการวิเคราะห์สมรรถนะตามหลักสูตรจำแนกตาม การรับรู้พบว่า ทุกสมรรถนะมีคะแนนในระดับมาก ผู้สำเร็จการอบรมรับรู้สมรรถนะของตนในระดับมากที่สุดด้านด้านจริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมาย 4.64 (SD = 0.52) และด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ 4.61 (SD = 0.46) ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะ ระหว่างการรับรู้ของผู้สำเร็จการอบรม ผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงาน พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p = 0.004"
} |
{
"en": "The purposes of this descriptive research were: (1) to study the cultural competency of registered nurses at a private hospital, (2) to explore the relationships between social factors and economies, the perception for the policy related to culture, life style and cultural value, cultural knowledge and the cultural competency of registered nurses, and (3) to investigate the predicted power of social factors and economies, the perception for the policy related to culture, life style and cultural value, cultural knowledge to the cultural competency of registered nurses. The sample were 135 registered nurses. Questionnaires were comprised five sections: personal data, the perception for the policy related to culture, life style and cultural value, cultural knowledge, and cultural competency. The content validity indexes of the second to the fifth sections were .88, .92, .88, .88, and Cronbach’s alpha coefficients were .82, .96, .81, and .98, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, Pearson product moment correlation, and stepwise multiple regression analysis.\nThe results revealed as follows: (1) registered nurses rated their cultural competency at the high level. (2) There were significant relationships between cultural values, cultural attitude, perception of technology information, the perception for the policy related to culture, cultural knowledge, language performance, chance to contact foreigner, and the cultural competency of registered nurses, but there was no significant relationship between salary, working experience, and cultural competency at p-value .05. (3) Cultural values, perception of technology information, cultural knowledge, the perception for the policy related to culture, and cultural attitude could predict cultural competency which accounted for 45.0% of the variance at p-value .05.",
"th": "การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) สมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลเอกชน แห่งหนึ่ง (2) ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ การรับรู้นโยบายองค์กรด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิตและค่านิยมทางวัฒนธรรม ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม กับสมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ความสามารถในการทำนายของปัจจัยทางสังคม และเศรษฐกิจ การรับรู้นโยบายองค์กรด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิตและค่านิยมทางวัฒนธรรม ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ต่อสมรรถนะ ทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 135 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม 5 ส่วน ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล การรับรู้นโยบายองค์กรด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิตและค่านิยมทางวัฒนธรรม ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม และ สมรรถนะทางวัฒนธรรม มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของส่วนที่ 2-5 เท่ากับ .88, .92, .88, .88 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ครอนบราคเท่ากับ .82, .96, .81 และ .98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติสหพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติ วิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน\nผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก (2) ค่านิยมด้านวัฒนธรรม เจตคติ ด้านวัฒนธรรม การรับข้อมูลข่าวสารทางเทคโนโลยี การรับรู้นโยบายองค์กรด้านวัฒนธรรม ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ความสามารถ ในการใช้ภาษา โอกาสในการปฏิสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพ แต่รายได้และประสบการณ์ ในการทำงานไม่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะทางวัฒนธรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ค่านิยมด้านวัฒนธรรม การรับ รู้ข้อมูลข่าวสารทางเทคโนโลยี ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม การรับรู้นโยบายองค์กรด้านวัฒนธรรม และเจตคติด้านวัฒนธรรมสามารถ ร่วมกันทำนายสมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 45.0 ระดับ .05"
} |
{
"en": "The purpose of this study was to describe experiences of being an elderly care service entrepreneur of professional nurses. Heidegger’s hermeneutic phenomenology was applied as a research methodology. Purposive sampling was used to select 12 nurse entrepreneurs as informants who have been being the owner of elderly care service over 3 years and nursing home was accredited by the department of business development, Ministry of Commerce. Data were ethically collected by using in-depth interview, observation and artifacts. Contents were analyzed by using content analysis of van Manen’s method.\nThe findings regarding to this study were consisted of 2 major themes and sub-themes as follows: 1. Applying nursing knowledge for running business, with consisted of 4 sub-themes as follows; 1.1) Designing a house as a nursing home, 1.2) Specifying patients for nursing home, 1.3) Providing holistic care, and1.4) Co-operating with hospitals for advanced care. 2. Running a business requires multidisciplinary studies, with consisted of 5 sub-themes as follows; 2.1) Finding money to invest 2.2) Setting appropriate price 2.3) Training to improve staff skills, 2.4) Indispensable advertising and marketing and 2.5) Improving quality service. The research findings showed that nurse entrepreneurs need to have both business management and gerontological nursing knowledge to be successful in elderly care service.",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุของพยาบาลวิชาชีพโดยใช้ระเบียบ วิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาของ Heidegger ผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพที่เป็นเจ้าของธุรกิจดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 12 คนคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ตามคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีประสบการณ์ดำเนินธุรกิจเป็นระยะ เวลามากกว่า 3 ปีขึ้นไป และ 2) ธุรกิจดูแลผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพธุรกิจดูแลผู้สูงอายุ จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต และเอกสารต่างๆ ข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์ เนื้อหาตามวิธีการของ van Manen\nผลการศึกษาการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุมีดังนี้ 1. การเริ่มต้นดำเนินธุรกิจด้วยความรู้ทางการพยาบาลประกอบด้วย 4 ประเด็นย่อยได้แก่ 1.1) ออกแบบภายใน สถานบริบาล 1.2) กำหนดการรับประเภทคนไข้ 1.3) ดูแลให้การพยาบาลแบบองค์รวม และ1.4) มีส่วนร่วมส่งต่อโรงพยาบาล เพื่อการรักษา 2. ประสบการณ์สอนให้คิดทำธุรกิจต้องใช้ความรู้หลายๆด้าน ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อย ได้แก่ 2.1) เงินลงทุน มีผู้เกื้อหนุนหรือกู้ลงทุนจากธนาคาร 2.2) อัตราค่าบริการคิดพอให้ไม่ขาดทุน 2.3) ต้องเกื้อหนุนพนักงานให้เห็นความก้าวหน้า 2.4) ประชาสัมพันธ์ และการตลาดใช้หลายสื่อ และ 2.5) ที่สำคัญ คือ การรักษาคุณภาพบริการ จากการศึกษาครั้งนี้จะเห็นได้ว่า การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุต้องใช้ความรู้ทั้งด้านการพยาบาลและ การบริหารธุรกิจจึงจะทำให้การดำเนินธุรกิจดังกล่าวประสบความสำเร็จ"
} |
{
"en": "The purpose of this quasi-experimental research two groups pre-post test design was to study the effects of health risk communication program among diabetic retinopathy patients. Rohrmann’s risk communication process was applied as a theoretical framework. The 34 sample were divided into an experimental and comparison group 17 of each. Data were collected from June to July,2018. The instruments comprised demographic data, Knowledge and behavior questionnaire to delay the severity of diabetic retinopathy.\nThe reliability was 1.00 and 0.80 respectively. The 6-weeks Health Risk Communication Program consisted of self-risk appraisal, risk communication, monitoring and evaluation. Data were analyzed by using descriptive statistics, Wilcoxon Singed-Rank test, and Mann-Whitney U test.\nThe results revealed that the experimental group had a significant higher mean score of knowledge and behavior to delay the severity of diabetic retinopathy before receiving the program and also in the comparison group (p < .05). Based on the results, this program could be used for caring diabetes mellitus patients to delay the progression of diabetic retinopathy.",
"th": "การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสื่อสารความ เสี่ยงทางสุขภาพของผู้ป่วยที่มีภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา โดยประยุกต์ใช้กรอบแนวคิดการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพของ โรฮร์มานน์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 17 คน เก็บข้อมูลระหว่างเดือน มิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2561 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้และพฤติกรรมเพื่อชะลอความรุนแรงของภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาโดยมีค่าความเชื่อ มั่นเท่ากับ 1.00 และ 0.81 ตามลำดับ โปรแกรมการสื่อสารความเสี่ยงทางสุขภาพฯ 6 สัปดาห์ประกอบด้วย การประเมินความเสี่ยง ด้วยตนเอง การสื่อสารความเสี่ยง การกำกับติดตามและการประเมินผล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณาและสถิติเปรียบเทียบ ด้วย Wilcoxon Singed-Rank test และ Mann-Whitney U test\nผลการวิจัยพบว่าภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาและ พฤติกรรมเพื่อชะลอความรุนแรงภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติ (p< .05) จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะว่าควรนำโปรแกรมนี้ไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะเบาหวานขึ้น จอประสาทตาเพื่อชะลอความรุนแรงของโรค"
} |
{
"en": "This research aimed to investigate the factors correlated with instent restenosis in coronary heart disease patients. Population is patients with instent in coronary heart disease at Phramongkutklao Hospital between September 2018 - February 2019. The materials of research contain with 1) biosocial factors questionnaire and 2) self - healthcare behavior questionnaire. Data was analyzed by descriptive statistics, including mean, standard deviation and percentages and also inferential statistics by using chi-square test in 38 cases , odds ratio, and logistic regression. The findings revealed that the biosocial and self - healthcare behavior factors were significantly associated with instent restenosis in coronary heart disease patients at α.05 significant level. ; the patient with diabetes mellitus (OR = 2.14 , 95% CI:1.01-4.51), family history of coronary heart disease (OR = 6.21, 95% CI:2.74-14.09), members of family smoking (OR = 5.99, 95% CI: 2.43-14.73), excess body mass index (OR = 3.09, 95% CI: 1.43-6.63), excess waist circumference (OR = 3.87, 95% CI: 1.72-8.74), self - healthcare behavior include food consumption behavior (OR = 3.87, 95% CI: 1. 72-8.74), physical activity and adequate sleep (OR = 12.00, 95% CI: 5.05-28.50), therapeutic adherence (OR = 25.06, 95% CI: 2.97-211.50), smoking and alcohol consumption behavior (OR = 8.33, 95% CI: 1.55-44.95) and stress management (OR = 3.96, 95% CI: 1.77-8.89)",
"th": "การวิจัยนี้มีเป็นการวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตีบซ้ำของหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ตีบที่ใส่ขดลวดค้ำยัน ประชากร คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยวิธีการใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจและมี การสวนหัวใจซ้ำ ที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 – เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 จำนวน 150 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามปัจจัยทางชีวสังคม และ 2) แบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรค หลอดเลือดหัวใจภายหลังใส่ขดลวดค้ำยัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน การทดสอบไคแสควร์ อัตราความ เสี่ยง และการวิเคราะห์การถดถอยลอจิสติก ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยด้านชีวสังคมและปัจจัยด้านพฤติกรรมการดูแลตนเองที่มีความ สัมพันธ์กับการตีบซ้ำของหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ใส่ขดลวดค้ำยัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ โรคเบาหวาน (OR = 2.14, 95% CI:1.01-4.51) บุคคลในครอบครัวเป็นโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ (OR = 6.21, 95% CI:2.74-14.09) บุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่ (OR = 5.99, 95% CI: 2.43-14.73) ระดับดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์ (OR = 3.09, 95% CI: 1.43-6.63) เส้นรอบเอวเกินเกณฑ์ (OR = 3.87, 95% CI: 1.72-8.74) พฤติกรรมการดูแลตนเอง ได้แก่ ด้านการบริโภคอาหาร (OR = 3.87, 95% CI: 1.72-8.74) ด้านกิจกรรมทางกายและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ (OR = 12.00, 95% CI: 5.05-28.50) ด้านการปฏิบัติตัวตามแผนการรักษา (OR = 25.06, 95% CI: 2.97-211.50) ด้านการสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ (OR = 8.33, 95% CI: 1.55-44.95) และ ด้านการจัดการความเครียด (OR = 3.96, 95% CI: 1.77-8.89)"
} |
{
"en": "This research is the Descriptive Research and has objectives to study Competency Satisfaction of Master Degree graduate users in Master Degree graduate of Nursing Science Program in Nursing Administration of Eastern Asia University and to compare the competency satisfaction of graduate users of Master Degree scholar distinguished by educational levels, positions, types of organization and the duration of times spent with the Master Degree graduates. Sample group is the graduate users in to total of 103 people. Research instrument is the Master Degree Users’ Satisfaction Questionnaire Form that has Cronbach alpha coefficient equals to 0.95. Statistics used in data analysis are frequency, percentage, average, standard deviation, Independent t-test and One Way ANOVA. Thus, research results found that the level of Master Degree users towards the Master’s competency is in high level ( = 4.07, SD = .43), Master Degree graduate has the highest moral aspect capacity of ( = 4.25, SD = .47) and the lowest intelligence is average to 3.97 (SD = .48). In addition, it is also found that the satisfaction towards research doing or research participation after graduation is in medium level. Master Degree graduate users that have differences in the topic of educational levels, positions, types of organization and the duration of times spent together with the Master Degree graduate have no different satisfaction in overall towards the capacity in the statistical significant level of .05. However, in each individual aspect, it is found that in interpersonal and responsibility aspects, Master Degree graduate users have more satisfaction in Master Degree’s capacity than Bachelor level and Doctor of Philosophy Degree in the statistical significant level of .05. From research results, recommend to suggest educational institute should improve the learning and teaching of research subject and the using of English language should have an in-depth research study about the capacity of interpersonal and responsibility from the graduate and Master Degree users in order to find the differences and to continue to bring forward as suggestions in curriculum improvement.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิต ต่อสมรรถนะของมหา บัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิตต่อ สมรรถนะของมหาบัณฑิต จำแนกตาม ระดับการศึกษา ตำแหน่งหน้าที่ ประเภทของหน่วยงานและระยะเวลาที่ทำงานร่วมกับมหา บัณฑิต กลุ่มตัวอย่างคือผู้ใช้บัณฑิตจำนวน 103 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิต ที่มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอลบาค เท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน Independent t-test และ One Way ANOVA ผลจากการวิจัยพบว่าความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิตต่อสมรรถนะ ของมหาบัณฑิต สาขาบริหารการพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.07, SD = .43) โดยมหาบัณฑิตมีสมรรถนะด้านคุณธรรม สูงที่สุด ( = 4.25, SD = .47) และด้านปัญญาต่ำสุด มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.97 (SD = .48) และพบว่ามีความพึงพอใจต่อเรื่อง การทำวิจัยหรือร่วมทำวิจัยภายหลังสำเร็จการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง ผู้ใช้มหาบัณฑิตที่มีความแตกต่างกันในเรื่อง ระดับ การศึกษา ตำแหน่งหน้าที่ ประเภทของหน่วยงานและระยะเวลาที่ทำงานร่วมกับมหาบัณฑิต มีความพึงพอใจต่อสมรรถนะรวม ของมหาบัณฑิตไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนในรายด้านพบว่า ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ ผู้ใช้บัณฑิตที่จบการศึกษาระดับปริญญาโท มีความพึงพอใจต่อสมรรถนะของมหาบัณฑิต มากกว่าผู้ใช้บัณฑิต ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาเอก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะว่า สถาบัน การศึกษาควรมีการปรับปรุงการเรียนการสอน เกี่ยวกับวิชาวิจัย และการใช้ภาษาอังกฤษ และควรมีการศึกษาวิจัยเชิงลึก เกี่ยวกับ สมรรถนะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบจากผู้ใช้บัณฑิต และมหาบัณฑิต เพื่อหาความแตกต่างและนำมาเป็น ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงหลักสูตรต่อไป"
} |
{
"en": "This research and development design study aims to 1) describe the older adult stroke survivors 2) develop the care plan for caregivers. Phase 1: The descriptive design was adopted to explore needs and health care problems of nine older adult stroke survivors in Mae Kao Tom sub-district, Chiangrai, Thailand during November 2017. Phase 2: The care plan was developed based on the Joanna Briggs Institute Model of Evidence-based Healthcare. Eight systematic reviews, two meta-analyses and two guidelines published in Thai and English during 2008-2016 were derived from electronic resources. Then, the care plan with standard procedures was validated and critiqued, while all instruments for a pilot study were measured for validity and reliability. Next, the pilot study to test the feasibility of the care plan was established among six trained volunteers and four family members at Mae Kao Tom community in Chiangrai, Thailand, from December 2017 to February 2018. After an evaluation, the care plan and instruments were improved. Findings: Older adult stroke survivors need effective care plan and caregivers with knowledge and skills. The care plan contains the activities promote activities daily living and the implementation for continued treatment and rehabilitation. Additionally, the care plan includes standard procedures, the algorithm of the care plan and the standard procedures’ tests to measure caregiver competency.",
"th": "การวิจัยเพื่อพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการดูแลและความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุหลังเป็นโรคหลอด เลือดสมองและพัฒนาแผนการดูแลส�าหรับผู้ดูแล ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพปัญหาการดูแลและความต้องการด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองทั้งหมดจำนวน 9 ราย ในเขตตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมือง เชียงราย ช่วงเดือนพฤศจิกายน 2560 ระยะที่ 2 เป็นการพัฒนาแผนการดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองสำหรับผู้ดูแลโดยใช้หลักฐานอ้างอิงเชิงประจักษ์ตามแนวทาง ของ the Joanna Briggs Institute Model of Evidence-based Healthcare มีการทบทวนเอกสารจากฐานข้อมูลอิเลคโทรนิกส์ ที่เผยแพร่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ระหว่าง 2551-2559 ประกอบด้วย systematic review 8 เรื่อง meta-analysis 2 เรื่อง และแนวปฏิบัติ 2 เรื่อง แผนการดูแลและเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลผ่านการทดสอบความเที่ยงตรง ได้ค่า CVI = 1 หลังการ ประชาพิจารณ์และการปรับปรุง มีการทดสอบความเป็นไปได้ของแผนการดูแลในโครงการนำร่องกับผู้ดูแลซึ่งผ่านการอบรม 6 คน สมาชิกในครอบครัว 4 คน ในตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมือง เชียงราย ระหว่าง ธันวาคม 2560 ถึง กุมภาพันธ์ 2561 จากนั้นได้ ปรับปรุงแผนการดูแลและเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลอีกครั้ง ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างต้องการแผนการดูแลที่มี คุณภาพและผู้ดูแลซึ่งมีความรู้และทักษะในการดูแล 2) แผนการดูแลประกอบด้วยกิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน กิจกรรมการรักษาต่อเนื่องและฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งแผนการดูแลจะมีแนวปฏิบัติของกิจกรรมที่สำคัญ และมีผังภูมิในการนำแผนการดูแลสู่การปฏิบัติ"
} |
{
"en": "This study aimed to develop an occupational health and safety literacy scale among industrial workers. Samples included 378 industrial workers. The developed scale consisted of 4 dimensions; accessing, understanding, appraising, and applying information. Confirmatory factor analysis and Cronbach’s alpha coefficients were used for testing construct validity and reliability of the scale. For its psychometric evaluation, confirmatory factor analysis showed that the model had satisfactory goodness of fit (GFI = 0.94, AGFI = 0.91, CFI = 0.98, NFI = 0.93) Cronbach’s alpha coefficients of the scale was 0.82. The results provide support for validity and reliability of the scale. This scale could be used to study in promoting an occupational health and safety literacy among industrial workers.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดความรอบรู้ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนงานโรงงาน อุตสาหกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ คนงานโรงงานอุตสาหกรรมจำนวน 378 คน แบบวัดที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 4 มโนทัศน์ คือ การเข้าถึงข้อมูล การเข้าใจข้อมูล การประเมินค่าข้อมูล และการใช้และการสื่อสารข้อมูล ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง ของแบบวัดด้วยสถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และตรวจสอบความเชื่อมั่นของแบบวัดโดยใช้ค่า Cronbach’s alpha coefficients การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพบว่าโมเดลองค์ประกอบสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดี ค่าดัชน ีวัดระดับ ความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.94 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.91 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง กลมกลืนเปรียบเทียบ (CFI) เท่ากับ 0.98 และ ดัชนีความเป็นปกติ (NFI) เท่ากับ 0.93 ผลการตรวจสอบความเชื่อมั่นของแบบวัด พบว่าแบบวัดทั้งฉบับมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.82 ผลการศึกษาทำให้ได้แบบวัดที่มีความเชื่อมั่นและความตรงที่น่าเชื่อถือ สามารถนำไปใช้ในการวิจัยเพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในคนงานโรงงานอุตสาหกรรม"
} |
{
"en": "This research and development study aimed: 1) to identify the needs of neonatal nursing competency development of professional nurses at Neonatal Intensive Care Unit, Panyananthaphikkhu Chonprathan Medical Center, Nonthaburi province, 2) to develop a model of neonatal nursing competency development, and3) to study the appropriateness of neonatal nursing competency development model. The sample was divided according to the study phases. 1) The study of the needs of neonatal nursing competency development, the sample was 6 neonatal professional nurses at Neonatal Intensive Care Unit. 2) The model development of neonatal nursing competency development, the sample was 4 professional nurses and a pediatrician, and 3) the study of the appropriateness of neonatal nursing ompetency development model, the sample was 13 professional nurses. The sample in all phases was selected by purposive sampling. The research tools comprised: 1) a focus group guideline for a study of needs of neonatal nursing competency development, 2) a focus group guideline for model development of neonatal nursing competency, 3) questionnaires of the appropriateness of development model. The reliability coefficients were .96. Quantitative data were analyzed by descriptive statistics. Qualitative data were analyzed by content analysis.\nThe results revealed that 1) neonatal nurse practitioners confirmed the needs of neonatal nursing competency development. 2) The model activities comprised of core competencies development: loving of the nursing profession, team working, coordination, communication,decision-making skills, service personality, management competency, andinnovation creative idea. The specific competenciesincludeupdate knowledge, significant nursing care and procedures,nursing care for neonatal with the respirator,environmental arrangement and infection prevention, intravenous infusion, drug administration, discharge planning, using of medical equipment and tools, and teaching ability. 3) The appropriateness of neonatal nursing competency development model was rated at the high level.",
"th": "การวิจัยและพัฒนา นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิดของ พยาบาลวิชาชีพในหน่วยการพยาบาลผู้ป่วยทารกแรกเกิด ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน 2) พัฒนารูปแบบการพัฒนา สมรรถนะการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิด และ 3) ศึกษาความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิด กลุ่มตัวอย่างแบ่งตามระยะการพัฒนารูปแบบ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาความต้องการการพัฒนาสมรรถนะการดูแล ผู้ป่วยทารกแรกเกิด กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยการพยาบาลผู้ป่วยทารกแรกเกิด จำนวน 6 คน ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิด กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพและกุมารแพทย์ที่ ปฏิบัติงานในหน่วยการพยาบาลผู้ป่วยทารกแรกเกิด จำนวน 5 คน และระยะที่ 3 การศึกษาความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนา สมรรถนะการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิด กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยการพยาบาลผู้ป่วยทารกแรกเกิด จำนวน 13 คน กลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 ระยะถูกเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ 1) แนวทางสนทนากลุ่มเพื่อศึกษาความ ต้องการการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2) แนวทางสนทนากลุ่มเพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการดูแล ผู้ป่วยทารกแรกเกิด 3) แบบสอบถามความเหมาะสมของรูปแบบฯ มีค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคอัลฟา .96 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติพรรณนาและข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา\nผลการวิจัยพบว่า 1) พยาบาลวิชาชีพมีความต้องการและเห็นว่ามีความจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยทารก แรกเกิดของพยาบาลวิชาชีพ 2) รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะ ประกอบด้วย การพัฒนาสมรรถนะหลัก ได้แก่ ความรักใน วิชาชีพพยาบาล การทำงานเป็นทีม การประสานงาน การสื่อสาร ทักษะการตัดสินใจ บุคลิกภาพในการบริการ ความสามารถในการ บริหารจัดการ และการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม และสมรรถนะเฉพาะ ได้แก่ ความรู้ความสามารถที่ทันสมัย การปฏิบัติการพยาบาลและหัตถการสำคัญ การพยาบาลผู้ป่วยทารกแรกเกิดในการใช้เครื่องช่วยหายใจ การจัดสิ่งแวดล้อมและป้องกันการติดเชื้อ การให้ สารนำสารอาหารทางหลอดเลือดดำ การบริหารยา การวางแผนจำหน่าย การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ที่สำคัญ และความสามารถในการสอน และ 3) รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิดมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก"
} |
{
"en": "This study aims to examine safety behavior among basic professional practices of vocational students and factors associated with safety behavior among basic professional practices. The subjects were 420 diploma vocational students affiliated with the office of vocational education commission. The research questionnaire consists of 5 parts: 1) demographic variables 2) safety climate 3) safety knowledge 4) safety motivation and 5) safety behavior. The data were analyzed by descriptive statistics and spearman rank correlation.\nThe results revealed that safety behavior among basic professional practices of vocational students were at a high level (Mean = 30.05, SD = 4.81). Factors associated with safety behavior among basic professional practices were safety climate (r = .49, p < .05), safety knowledge (r = .37, p < .05) and safety motivation (r = 0.49, p < .05) and factors disassociated with safety behavior among basic professional practices were gender (r = 0.02, p = .56) age (r = -.02, p = .62) years of education (r = -.04, p = .41) practice or classroom lesson in occupational health and safety subjects before basic professional practices (r = .02, p = .55), and past illness/injury experience from basic professional practices. (r = .03, p-value = .52)",
"th": "การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการฝึกปฏิบัติพื้นฐานวิชาชีพ และปัจจัยที่มีความ สัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการฝึกปฏิบัติพื้นฐานวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาอาชีวศึกษา สาขาช่างอุตสาหกรรม จำนวน 420 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม 5 ส่วน ได้แก่ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล 2) บรรยากาศด้านความปลอดภัย 3) ความ รู้ด้านความปลอดภัย 4) แรงจูงใจด้านความปลอดภัย และ 5) พฤติกรรมความปลอดภัยในการฝึกปฏิบัติพื้นฐานวิชาชีพ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน\nผลการศึกษา พบว่า นักศึกษาอาชีวศึกษา สาขาช่างอุตสาหกรรม มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการฝึกปฏิบัติพื้นฐาน วิชาชีพอยู่ในระดับสูง (Mean = 30.05, SD = 4.81) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการฝึกปฏิบัติพื้นฐาน วิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ บรรยากาศด้านความปลอดภัย (r = .49, p < .01) ความรู้ด้านความปลอดภัย (r = .37, p < .01) แรงจูงใจด้านความปลอดภัย (r = .49, p < .01) ส่วนปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการฝึก ปฏิบัติพื้นฐานวิชาชีพ ได้แก่ เพศ (r = .02, p = .56) อายุ (r = -.02, p = .62) ระดับชั้นปีการศึกษา ( r= -.04, p = .41) การฝึก อบรม/การเรียนรายวิชาด้านความปลอดภัยก่อนการฝึกปฏิบัติพื้นฐานวิชาชีพ (r = .02, p = .55) การเจ็บป่วย/การได้รับบาดเจ็บ จากการฝึกปฏิบัติพื้นฐานวิชาชีพที่ผ่านมา (r = .03, p = .52)"
} |
{
"en": "The purpose of this descriptive research was to validate the fitness of digital competency components of Thai professional nurses. The sample comprised 300 nurses from 13 hospitals under the Ministry of Public Health who responded questionnaires and were selected by the multi-stage random sampling technique. The research instrument were an online questionnaire of digital competency components of Thai professional nurses. The content validity of the questionnaire between 0.6 and 1.0 based on index of item objective congruence by five experts. The reliability of the questions was 0.97 based on Cronbach’s alpha reliability coefficient method. The data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, and confirmatory factor analysis. The results illustrated that digital competency of Thai professional nurse’s embraced three components with 22 competencies as follows: 1) knowledge component was defined by seven competencies, 2) skills component was defined by eight competencies, and 3) attributes component was defined by seven competencies. The digital competency components of Thai professional nurses was fit to the empirical data including chi-square () = 314.68; degrees of freedom (df) = 182; p < 0.01; = 1.73; comparative fit index (CFI) = 1.0, goodness of fit index (GFI) = 0.91; adjusted goodness of fit index (AGFI) = 0.88; root mean square error of approximation (RMSEA) = 0.049; standardized root mean square residual (SRMR) = 0.022",
"th": "การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนขององค์ประกอบสมรรถนะดิจิทัลของ พยาบาลวิชาชีพไทย กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลของรัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 13 แห่ง ที่ได้จากการสุ่ม แบบหลายขั้นตอนจำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามออนไลน์องค์ประกอบสมรรถนะดิจิทัลของพยาบาล วิชาชีพไทย ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.6 ถึง 1.0 และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบสมรรถนะดิจิทัลของพยาบาลวิชาชีพไทย มีทั้งหมด 3 องค์ประกอบ 22 สมรรถนะ ได้แก่ 1) องค์ประกอบด้านความรู้ มี 7 สมรรถนะ 2) องค์ประกอบด้านทักษะ มี 8 สมรรถนะ และ 3) องค์ประกอบด้าน คุณลักษณะ มี 7 สมรรถนะ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าสถิติดังนี้ ค่าไคสแควร์ () เท่ากับ 314.68 ที่องศาอิสระ 182 มีความน่าจะเป็น < 0.01 ค่าสถิติไคสแควร์สัมพัทธ์ () เท่ากับ 1.73 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง กลมกลืนเปรียบเทียบ (CFI) เท่ากับ 1.00 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.91 ค่าดัชนีวัดระดับ ความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.88 ค่ารากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของความคลาดเคลื่อนโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.049 และค่าดัชนีรากกำลังสองเฉลี่ยของเศษเหลือ (SRMR) เท่ากับ 0.022"
} |
{
"en": "The purpose of this quasi-experimental research was to determine the effects of an adjustmentpromoting program on the stress management skills of mothers of children with attention-deficit/hyperactivity disorder (ADHD). The sample consisted of 60 mothers of children with attention-deficit/hyperactivity disorder, who were recruited using the inclusion criteria. They were randomly assigned to the control and experimental groups, with 30 subjects in each group. The experimental group participated in the adjustment-promoting program which comprised 8 sessions, once a week for 8 weeks. The control group received routine care. The research instruments were the following: 1) a personal data questionnaire; 2) the adjustment-promoting program; 3) and a stress management skills scale which determined the reliability with a Cronbach’s alpha coefficient of .89. The data analysis was performed through descriptive statistics and t-test.\nThe research findings were as follows: 1) The mean score on the post-test (M = 57.33, SD = 5.62) of participants in the experimental group after participating in the program was significantly greater than the pre-test (M = 41.30, SD = 5.29) (t = 6.41, p<.001) and 2). The mean difference of the mean score of stress management skills between the pre-test and post-test in the experimental group ( =16.03 , SD = 6.85) was significantly greater than that of the control group that received routine care. ( = 0.50, SD = 3.82) (t = 5.42, p<.001). As a result of this study, it can be concluded that the adjustment-promoting program can enhance the stress management skills of mothers of children with attention-deficit/hyperactivity disorder and can be developed the adjustment-promoting program for other mothers or caregivers.",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างการปรับตัวต่อทักษะการจัดการกับ ความเครียดของมารดาเด็กโรคสมาธิสั้น กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาของเด็กโรคสมาธิสั้น คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้าจำนวน 60 คน สุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างการปรับตัว ประกอบ ด้วยกิจกรรม 8 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคล 2) โปรแกรมเสริมสร้างการปรับตัวที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา 3) แบบวัดทักษะการจัดการกับ ความเครียด ซึ่งตรวจสอบความเที่ยงของแบบสอบถามมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิง พรรณนา และสถิติทดสอบค่าท\nผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้: 1) กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยทักษะการจัดการกับความเครียดหลังการทดลอง (M = 57.33, SD = 5.62) มากกว่าก่อนการทดลอง (M = 41.30, SD = 5.29) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 6.41, p<.001) และ 2) ผลต่าง ของค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการจัดการกับความเครียดระหว่างก่อนและหลังทดลองของกลุ่มทดลอง (= 16.03, SD = 6.85) มากกว่า กลุ่มควบคุม (= .50, SD = 3.82) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 5.42, p<.001) จากผลการศึกษาครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า โปรแกรมเสริมสร้างการปรับตัวช่วยเพิ่มทักษะการจัดการกับความเครียดของมารดาเด็กโรคสมาธิสั้นได้ และสามารถพัฒนาใช้ต่อ กับมารดาหรือผู้ดูแลกลุ่มอื่น"
} |
{
"en": "The purposes of this survey research were to 1) study the degree of success of self-directed learning readiness (SDLR) as perceived of nursing students and 2) prioritize and compare needs their SDLR as perceived of nursing students. The samples group consisted 189 by simple random sampling of nursing students who were studying in the first, second, third and fourth year in Bachelor of Science in Nursing Program. The research instrument was the SDLR questionnaires. The reliability each categories of the questionnaires were .73 - .84 using Cronbach’s Alpha Coefficient. The data was analyzed by using frequencies, percentages, means, standard deviation and modified priority needs index (PNImodifled).\nThe results found that the degree of success of SDLR of nursing students overall mean score were high level (M = 3.92, SD = 0.54). The fourth-year nursing students had SDLR overall mean score at the higher than the second, third and first year nursing students. The first-year nursing students had needs assessment to SDLR are the most important needs first (PNImodifled = 0.34). The classified by components overall found that ability in self-learning aspect had the most important needs first (PNImodifled = 0.33). Followed by self-study characteristics (PNImodified = 0.31) and ability in self-management aspect (PNImodified = 0.28).",
"th": "การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองตามการ รับรู้ของนักศึกษาพยาบาล และ 2) ประเมินความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองตามการรับรู้ ของนักศึกษาพยาบาล ตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1-4 ระดับปริญญาตรี จำนวน 189 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง ตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือ โดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค รายด้านอยู่ระหว่าง .73 ถึง .84 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยคำนวณหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และและค่าดัชนีความต้องการจำเป็นแบบปรับปรุง (PNImodifled)\nผลการวิจัยพบว่า ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับสูง (M = 3.92, SD = 0.54) และเมื่อพิจารณาเป็นชั้นปีพบว่า นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 มีคะแนนเฉลี่ยความพร้อมในการเรียนรู้ด้วย การนำตนเองสูงกว่านักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2, 3 และ 1 ตามลำดับ และผลการประเมินความต้องการจำเป็นพบว่า นักศึกษา พยาบาลชั้นปีที่ 1 มีความต้องการจำเป็นของความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองที่จะต้องได้รับการพัฒนามากที่สุด (PNImodifled = 0.34) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองมีความต้องการจำเป็น ที่ต้องได้รับการพัฒนามากที่สุด (PNImodified = 0.33) รองลงมาคือ ด้านคุณลักษณะของผู้ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง (PNImodified = 0.31) และด้านความสามารถในการบริหารจัดการด้วยตนเอง (PNImodified = 0.28) ตามลำดับ"
} |
{
"en": "The aims of this research were to develop the enhancement of attention based on NLP program for primary school student, and to test the effectiveness of the enhancement of attention based on NLP program for primary school students. The sample consisted of 52 elementary student grade 4th-6th at BANPLAIKHLONG 20 School, Chachoengsao province. The sample was selected by PANT use reaction time max 52 persons. The sample was randomly assigned into two groups: experimental and control group, each group consisted of 26 students. The research instruments were; 1) The enhancement of attention based on NLP program for primary school students, which was developed by the researcher, 2) PEBL Attention Network Test (PANT) 3) The Wisconsin card sorting (WCST-64). The experimental group received the attention enhance program with NLP for primary students. The experiment lasted for 4 sessions, one session in each week. Each session lasted for 50 minutes. The control group joined the regular school’s activities. The assessments were done in 3 phases: pre-test, post-test and follow-up. The data were analyzed by a repeated measures analysis of variance and paired-different test by Bonferroni method.\nThe results revealed that; 1) there was the interaction between the experimental methodology and the duration of the experiment were found statistically significant at .05 level. 2) The experimental group had the mean score of atttention higher than those in the control group in the post-test and follow-up with statistically significant at .05 level. 3) The experimental group had the mean score of attention in the post-test and follow-up higher than the pre-test with statistically significant at .05 level. It was concluded that the attention enhancement program with NLP had the effect on enhancing attention among primary students.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างความสนใจจดจ่อด้วยเอ็นแอลพี สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษา และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของโปรแกรมการเสริมสร้างความสนใจจดจ่อด้วยเอ็นแอลพีสำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้น ป.4-6 ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนบ้านปลายคลอง 20 จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 52 คน สุ่มเข้ากลุ่ม ตัวอย่างโดยใช้แบบทดสอบพีเอเอ็นทีที่ใช้เวลาปฏิกิริยามากที่สุด จำนวน 52 คน สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เพื่อจำแนกออก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง 26 คน กลุ่มควบคุม 26 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการเสริมสร้างความสนใจจดจ่อด้วยเอ็นแอลพี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา 2) แบบทดสอบพีเอเอ็นที 3) แบบทดสอบวิสคอนซินการ์ดซอร์ติ้ง-64 กลุ่มทดลอง ได้รับโปรแกรม การเสริมสร้างความสนใจจดจ่อด้วยเอ็นแอลพี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุม ได้รับการเรียนการสอนตามปกติ การประเมินความสนใจจดจ่อแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ก่อนการทดลอง หลังการ ทดลองและระยะติดตามผล 2 สัปดาห์ สถิติที่ใช้ คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปร ภายในกลุ่ม และทดสอบความแตกต่างรายคู่แบบบอนเฟอรโรน\nผลการวิจัยพบว่า 1) มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาของการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 2) กลุ่มทดลองมีความสนใจจดจ่อสูงกว่ากลุ่มควบคุมทั้งหลังการทดลองและระยะติดตามผลอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ 3) กลุ่มทดลองมีความสนใจจดจ่อหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ว่า โปรแกรมเสริมสร้างความสนใจจดจ่อด้วยเอ็นแอลพีสามารถเพิ่มความสนใจจดจ่อของนักเรียน ชั้นประถมศึกษา"
} |
{
"en": "The purpose of this study was to explore working experiences as a member of the House of Representative of professional nurses. The Heidegger’s hermeneutic phenomenology was applied for this study. Seven nurses, who were used to be members of the House of Representatives in Thailand at least one term in their political positions, willingly participated in this study. In-depth interviews with tape-recordings, observation, field notes and artifacts were used for data collection. Study data were analyzed by using a content analysis of van Manen’s method. The study findings fell into 6 themes: 1) being an honest politician, 2) applying holistic healthcare to help people, 3) being a committee on health 4) participating the making of Acts, 5) interrogating participation and 6) censuring a debate.",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายประสบการณ์การทำหน้าที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพยาบาลวิชาชีพ โดยใช้ ระเบียบวิธีการวิจัยแบบปรากฏการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger ผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ การเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 7 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การบันทึกภาคสนาม การรวบรวมเอกสารต่างๆ เช่น นิตยสาร เว็บไซต์ และ YouTube นำข้อมูลทั้งหมดมาประมวลและวิเคราะห์เนื้อหาตามวิธีการของ van Manen ผลการศึกษาประสบการณ์การทำหน้าที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วย 6 ประเด็น ได้แก่ 1) ใช้จรรยาบรรณพยาบาลทำงานในหน้าที่ 2) แนวคิดการพยาบาลที่มีใช้ได้ดีกับชุมชน 3) ร่วมเป็นกรรมาธิการด้านที่ตนให้ความ สนใจ 4) ร่างพระราชบัญญัติให้มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย 5) ตั้งกระทู้สด-แห้งถามความสงสัย และ 6) อภิปรายไม่ไว้วางใจหาก ผลงานไม่บรรลุผล"
} |
{
"en": "This descriptive research was aimed at studying the level of competency of orthopedic nurses and the relationship between personal factors, level of education, experience in operating an orthopedic ward, receipt of specific training in orthopedic nursing care, lifelong learning factors and work empowerment factors of orthopedic head nurses with competency of orthopedic nurses in hospitals under the Department of Medical Services, Ministry of Public Health. The participants were recruited by convenience sampling in 102 . The statistics used for analyzing the data were mean, standard deviation, chi-square, and Pearson’s correlation. The findings revealed the following: 1. “Orthopedic nursing competency” was high ( = 3.88). 2. “Experience in operating an orthopedic ward” and “specific training in orthopedic nursing care” was associated with “Orthopedic nursing competency” under the Department of Medical Services, (p = .05). At the same time, “level of education” was not associated with “Orthopedic nursing competency” under the Department of Medical Services. 3. “nurses’ lifelong learning” and “Work empowerment of head nurses” were moderately and positively correlated with “orthopedic nursing competency”, under the Department of Medical Services with statistical significance (p = .05), r = 0.697 and 0.364.",
"th": "การวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพออร์โธปิดิกส์โรงพยาบาลสังกัดกรม การแพทย์ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วย ออร์โธปิดิกส์ การได้รับการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ การเรียนรู้ตลอดชีวิต การเสริมสร้างพลังอำนาจของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กลุ่ม ตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยออร์โธปดิกส์ จำนวน 102 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการเรียนรู้ตลอดชีวิต แบบสอบถามการเสริมสร้างพลังอำนาจของหัวหน้าหอผู้ป่วย และแบบสอบถามสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพออร์โธปิดิกส์ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่า CVI เท่ากับ เท่ากับ 1, .96 และ 1 และทดสอบค่าความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยง .935, .937 และ .939 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ และหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพออร์โธปิดิกส์ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงาน ในหอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ โดยรวม อยู่ในระดับมาก ( = 3.88) 2. ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ และการได้รับการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะ พยาบาลวิชาชีพออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนระดับการศึกษาไม่มี ความสัมพันธ์กับสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ และ 3. การเรียนรู้ตลอดชีวิตของพยาบาลวิชาชีพออร์โธปิดิกส์ และการเสริมสร้างพลังอำนาจของหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวก (0.697 และ R = 0.364) กับสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05"
} |
{
"en": "This quasi-experimental research aimed to compare the academic achievement of nursing students using pre-and post-test after applying the instructional module by using the process of group teaching through reflection. Additionally, this research aimed to compare the critical thinking and problem solving skills of nursing students by using the instructional model.,the purposive sampling method was used to recruit the sample, including 98 students from the 1st year of the Royal Thai Army Nursing College (RTANC). In addition, the academic achievement test and a form for measuring the critical thinking and problem solving skills were used to collect the data. The data, then, were analyzed by using percentage, mean, Standard Deviation (S.D.), and paired sample t-test statistics. This research found that the mean score of the pre-test of the academic achievement was 14.74 (S.D. 2.79), Whereas the mean score of the post-test of the academic achievement was 19.24 (S.D. 2.85). Importantly, the mean difference of the academic achievement between pre-and post-test of the students was statistically significant (P-valve 0.01). For the critical thinking and problem solving skills, The mean score of the pre-and post-test was 25.45 (S.D. 3.76), while the mean score of the post-test was 26.51. (S.D. 2.78). Also, the mean difference between the pre-and post-test of the critical thinking and problem solving skills was statistical significance (P-valve 0.01). It can be seen that using of the instructional model by applying the process of group teaching trough reflection can enhance the academic achievement and the critical thinking and problem solving skills of the RTANC nursing students, which could develop students’ learning skills in the 21st century.",
"th": "การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนพยาบาลก่อนและหลังการ เรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนแบบกระบวนการกลุ่มผ่านการสะท้อนคิด และเพื่อเปรียบเทียบทักษะในการคิดอย่างมี วิจารณญาณและการแก้ปัญหาของนักเรียนพยาบาลก่อนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนแบบกระบวนการกลุ่มผ่านการ สะท้อนคิด กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 1 จำนวน 98 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนา และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนพยาบาลก่อนการเรียนรู้อยู่ในระดับต่ำ ( = 14.74, S.D. = 2.79) ส่วนหลังการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง ( = 19.24, S.D. = 2.85) และผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนพยาบาลหลังเรียนด้วยรูปแบบการสอนแบบกระบวนการกลุ่มผ่านการสะท้อนคิดสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 และพบว่าทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาของนักเรียนพยาบาลก่อนการเรียนรู้อยู่ในระดับ ปานกลาง ( = 25.45, S.D. = 3.76) ส่วนหลังการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง ( = 26.51, S.D. = 2.78) และผลการเปรียบเทียบ ทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาของนักเรียนพยาบาลด้วยรูปแบบกระบวนการกลุ่มผ่านการสะท้อนคิดสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า รูปแบบการเรียนการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านการสะท้อนคิดที่พัฒนาขึ้นสามารถเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้นและเพิ่มทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21"
} |
{
"en": "This research is quasi-experimental research, one group pretest-posttest design to study the effect of Team-based learning method on nursing students’ learning outcomes according to Thai Qualifications Framework for Higher Education for nursing students in the topic of therapeutic relationship. The participants consisted of 64 students who were 2nd year nursing students in Faculty of Nursing, Ubon Ratchathani University, selected by a purposive sampling. Data were collected by 3 components; namely, 1) Team-based learning process 2) the knowledge test (pretest and posttest) 3) the questionnaire on nursing students’ learning outcomes according to Thai Qualifications Framework for Higher Education, and 4) the questionnaire on nursing students’ satisfaction on team-based learning. Data were analyzed by descriptive statistics and paired t-test. The results showed that the average score of learning outcomes in post-studying higher than pre-studying all aspects with statistical significance (p< .001). Team-based learning method can increase nursing students’ learning outcomes according to Thai Qualifications Framework for Higher Education in the topic of therapeutic relationship. Therefore, team-based learning methods should be used for nursing teaching other nursing fields including nursing practice courses.",
"th": "การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ชนิดกลุ่มเดียว ทดสอบก่อนและหลัง เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนโดยใช้ทีมเป็นฐาน ตอผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษาพยาบาล ในหัวข้อการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการ บำบัด กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 64 คน เป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เลือก กลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1) กระบวนการเรียนโดยใช้ทีมเป็นฐาน 2) แบบทดสอบความรู้ (ก่อนและหลังเรียน) 3) แบบประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของ นักศึกษาพยาบาล และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลตอการเรียนโดยใช้ทีมเป็นฐาน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ พรรณนาและ paired t-test ผลการศึกษา พบว่า คะแนนเฉลี่ยผลการเรียนรู้หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนทุกด้าน อย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ < .001 แสดงให้เห็นวาการเรียนโดยใช้ทีมเป็นฐานสามารถทำให้เกิดผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ดังนั้น ควรนำการเรียนโดยใช้ทีมเป็นฐานมาใช้ในการสอนสาขาวิการพยาบาลอื่นๆ รวมทั้งรายวิชาฝึก ปฏิบัติการพยาบาล"
} |
{
"en": "This quasi-experimental one-group pretest – posttest research aimed to compare self-efficacy and safety behavior of caretaker among pre-school children in low income and multiple deprived families study before and after of self- efficacy promoting program. Simple random sampling with inclusion criteria was used to recruit a sample of 30 caretakers who are living in Bangkok. The instruments used in this research include a demographic questionnaire, self- efficacy of the caretaker questionnaire, and safety behavior of the caretaker questionnaire. All instruments had content validity. The Cronbach’s alpha reliability of the questionnaires was .90 and .86 respectively. Data were analyzed by using descriptive statistic and t-test with statistical significance at .05.\nThe results found after the program showed that mean score of self- efficacy and safety behavior of caretaker among pre-school children were higher than before the program with a statistic significant (t30 = 5.23, p < .001 and t30 = 5.23, p < .001 respectively). These findings suggest that nurses and other health policymakers relating to child safety could apply this self- efficacy promoting program to build up policies protecting home child’s injuries in low income and multiple deprived families.",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถและ พฤติกรรมการดูแลความปลอดภัยของผู้ดูแลเด็กวัยก่อนเรียนที่ยากจนและมีความขาดแคลนแบบพหุปัจจัยก่อนและหลังเข้าร่วม โปรแกรมสร้างเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย และตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 30 ราย ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแล และแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลความปลอดภัยของผู้ดูแลเด็ก โดยผ่านการตรวจความตรง และมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .90 และ .86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการทดสอบที ที่ระดับนัยสำคัญที่ .05\nผลการวิจัย พบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรม คะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเองและพฤติกรรมการดูแลความปลอดภัย ของผู้ดูแลเด็กสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t30 = 5.23, p < .001 และ t30 = 5.23, p < .001 ตามลำดับ) ผลการวิจัยเสนอแนะว่า พยาบาลและผู้กำหนดนโยบายเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยในเด็ก สามารถนำโปรแกรมสร้างเสริมการ รับรู้ความสามารถของตนเองนี้ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างนโยบายป้องกันการบาดเจ็บในเด็กที่ครอบครัวยากจนและมีความขาดแคลน แบบพหุปัจจัย"
} |
{
"en": "The purposes of this descriptive research were 1) to examine the stress of the first year nursing students in National College and Private University and 2) to study the relationships between factors and stress in the first year nursing students in National College and Private University. The samples group consisted 161 nursing students who were studying in the first year in National College and Private University. The research tools composed of a questionnaire about factors of correlation with stress and a questionnaire Suanpung Stress test-20 (SPST-20). The reliability each categories of the questionnaires were .69 - .86 using Cronbach’s Alpha Coefficient. The data was analyzed by using frequencies, percentages, means, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient.\nThe results found that the stress of the first year nursing students score in National College and Private University were severe and high level. The high correlation with the stress was found relationship with classmate (M = 3.58, SD = 0.59). The moderate correlation with the stress were found; teaching and learning management (M = 3.11, SD = 0.72) and study skill (M = 3.08, SD = 0.74). The relationships between all of factors and stress in the first year nursing students with the significant level .05",
"th": "การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงเชิงพรรณนา (Descriptive research) เพื่อ 1) ศึกษาความเครียดของนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1 ในสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐและเอกชน และ 2) ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเครียดของนักศึกษาพยาบาลชั้นปี ที่ 1 ในสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐและเอกชน ตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐและ เอกชน จำนวน 161 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเครียด และแบบวัด ความเครียดสวนปรุง (ฉบับปรับปรุง) ตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือทั้งหมดโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาครายด้าน อยู่ระหว่าง .69 ถึง .86 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ โดยคำนวณหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน\nผลการวิจัยพบว่า ความเครียดของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐและเอกชน โดยรวมอยู่ในระดับรุนแรง รองลงมาคือ มีความเครียดอยู่ในระดับสูง ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเครียดในระดับสูง คือ ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (M = 3.58, SD = 0.59) และปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเครียดในระดับปานกลาง ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน (M = 3.11, SD = 0.72) และ ทักษะในการเรียน (M = 3.08, SD = 0.74) โดยปัจจัยทั้ง 3 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านการจัดการเรียนการสอน ทักษะในการเรียน และความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นมีความสัมพันธ์กับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05"
} |
{
"en": "Thailand is moving towards a complete aged society in 2021. The elderly are degenerate change both physically and mentally that causes to anemia especially iron deficiency. The research team developed the native recipes have high iron, folate, vitamin B12, and vitamin C to prevent anemia-related malnutrition in the elderly. Collect and select native recipes in the north with 40 community person, select and develop 20 menu and 10 fruits. The knowledge person in community cook, calculate the number of nutrients by Inmucal-V3 found top three high-energy foods include Kanom Jeen Nam Ngeaw (1164.52 Kcal), Khao kan chin (908.40 Kcal) Kaeng Khae Kai (694.16 Kcal), top three menus high iron are Kanom Jeen Nam Ngeaw (56.85 mg.) Khao kan chin (47.85 mg.) Yum Ma Thaw Ma Kheau (9.72 mg.), top three menus high vitamin C are Yum Ma Thaw Ma Kheau (205.22 mg.) Kaeng Phak Chiang Da Pla yang (173.58 mg.) Kaeng Khae Kai (76.68 mg.), the northern local fruit have top three high vitamin C including Guava (383.01 mg.) Lychee Chakrapad (85.20 mg.) pomelo (79.04 mg.). The native recipes have high iron, folate, vitamin B12 and vitamin C adequate to prevent anemia-related malnutrition in the elderly. Therefore, a nurse should promote elderly consumption the native recipes with fruit.",
"th": "ประเทศไทยกำลังก้าวสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ.2564 วัยสูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมถอย ทั้งร่างกายและจิตใจ ส่งผลให้เกิดภาวะโลหิตจาง โดยเกิดจากการขาดธาตุเหล็กบ่อยที่สุด คณะผู้วิจัยจึงพัฒนำตำรับอาหารพื้นเมือง ที่มีธาตุเหล็ก และวิตามินซีสูง เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดสารอาหารในผู้สูงอายุ โดยรวบรวมและคัดเลือกอาหารพื้น เมืองภาคเหนือร่วมกับผู้รู้ในชุมชน 40 คน คัดเลือกและพัฒนาจำนวน 20 รายการ และผลไม้อีก 10 รายการนำมาให้ให้ผู้รู้ในชุมชน ปรุง คำนวณปริมาณสารอาหาร พบว่าอาหารที่พลังงานสูง 3 อันดับแรก ได้แก่ ขนมจีนน้ำเงี้ยว (1164.52 Kcal) ข้าวกั๊นจิ๊น (908.40 Kcal) แกงแคไก่ (694.16 Kcal) เมนูที่ธาตุเหล็กสูง 3 อันดับแรก ได้แก่ ขนมจีนน้ำเงี้ยว (56.85 มก.) ข้าวกั๊นจิ๊น (47.85 มก.) ยำมะ ถั่วมะเขือ (9.72 มก.) เมนูที่วิตามินซีสูง 3 อันดับแรก ได้แก่ ยำมะถั่วมะเขือ (205.22 มก.) แกงผักเซียงดำใส่ปลาย่าง (173.58 มก.) แกงแคไก่ (76.68 มก.) ส่วนผลไม้ในท้องถิ่นภำคเหนือ ที่ให้วิตำมินซีสูง 3 อันดับแรก ได้แก่ ฝรั่ง (383.01 มก.) ลิ้นจี่จักรพรรดิ์ (85.20 มก.) ส้มโอ (79.04 มก.) ตำรับอาหารพื้นเมืองมีธาตุเหล็ก โฟเลต วิตำมินบี 12 และวิตามินซีสูง ที่เพียงพอ ดังนั้น ควรส่งเสริมให้ผู้สูงอำยุรับประทำนเหล่านี้ควบคู่กับผลไม้เพื่อป้องกันภาวะโลหิดจางจาการขาดสารอาหาร"
} |
{
"en": "This research is a survey research and cross-sectional study aims to study the situation and Factors Related to Cancer Prevention Behaviors of People in Community, Samrong Sub-district, Phra Pradaeng District, Samut Prakarn Province Random the sample size is 377. The instrument used is a questionnaire that has been validated by 3 experts. All Index of item Objective Congruence (IOC) is between 0.67 - 1.00 of the questionnaire. There is a confidence value of the questionnaire. Cues to Action, The Motivation to Prevent Disease questionnaire and Cancer Prevention Behavior questionnaire were 0.78, 0.71, 0.70 and 0.80 respectively. For Data analyzed using frequency, percentage, mean and standard deviation. Relationship analyzed between Cues to Action with Cancer Prevention Behavior and The Motivation to Prevent Disease with Cancer Prevention Behavior by Pearson Correlation Coefficient statistics.\nThe results showed that people in Samrong Subdistrict Community 1) Total Cancer Prevention Behavior at a moderate level ( = 3.31, SD = 0.43) 2) Cues to Action at a moderate level ( = 3.45, SD = 0.36) 3) The Motivation to Prevent Disease at a high level ( = 3.65, SD = 0.49). 4) Cues to Action and The Motivation to Prevent Disease were positively correlated with Cancer Prevention Behavior (r = .17, p =",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) แบบภาคตัดขวาง (cross sectional study) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งของประชาชน ในชุมชนตำบลสำโรง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ สุ่มกลุ่มตัวอย่าง ได้ขนาดตัวอย่างจำนวน 377 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบ ความตรงของเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ได้ค่า Index of item Objective Congruence (IOC) ทุกข้ออยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม สิ่งชักนำให้เกิดการปฎิบัติ แบบสอบถามแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรค และ แบบสอบถาม พฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็ง เท่ากับ 0.78, 0.71, 0.70 และทั้งฉบับ เท่ากับ 0.80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งชักนำให้เกิดการปฎิบัติกับพฤติกรรมการ ป้องกันโรคมะเร็งและแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคกับพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งด้วยสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation Coefficient)\nผลการวิจัย พบว่า ประชาชนในชุมชนตำบลสำโรง 1) พฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็ง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.31, SD = 0.43) 2) สิ่งชักนำให้เกิดการปฎิบัติโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.45, SD = 0.36) 3) แรงจูงใจเพื่อป้องกัน โรค โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.65, SD = 0.49) 4) สิ่งชักนำให้เกิดการปฎิบัติและแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคมีความสัมพันธ์ เชิงบวกระดับต่ำกับพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็ง (r = .17, p ="
} |